Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68919
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรองศาสตราจารย์อรพิณ สันติธีรากุล-
dc.contributor.authorเพชรรัตน์ เรือนทองen_US
dc.date.accessioned2020-07-21T05:38:09Z-
dc.date.available2020-07-21T05:38:09Z-
dc.date.issued2015-11-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68919-
dc.description.abstractThis independent study aimed at studying the factors that affected happiness at work and studying the level of happiness at work of front of the house employees at hotels in Chiang Mai Province. The subjects for the study consisted of 257 front of the house hotel employees in Chiang Mai Province. The data was collected from self- administered questionnaire. The questionnaire was designed to collect 4 types of data: personal demographic information, opinions on factors which led to happiness at work, opinions on achieving the potential, and attitudes towards happiness. The data was analyzed by frequency, percentage, mean, independent – sample T – test, analysis of variance: ANOVA, Scheffe and Linear Regression. The results of the study showed that the majority of the questionnaire respondents were female, 21 – 30 years old, single, with Bachelor’s degree. Most of them worked in Food and Beverage department, at levels 1 and 4, and had been working for more than 5 years. They worked 50 hours per week and never used sick leave. They planned to work with the hotel for 5 years. Happiness at work of front of the house hotel employees in Chiang Mai was at the high level, which was related to their opinion toward the overall happiness at work and the personal achieving potential towards the highest level. The respondents agreed with all of the factors. The most important happiness factors at the workplace were commitment, followed by conviction, contribution, culture and confidence. From Linear Regression analysis, it was found that generally, the factors affecting happiness at work related to main characteristics that affected happiness. The factor of commitment had the most prediction power, followed equally by culture, confidence, contribution, and conviction. It was also found that pride, trust, and recognition related positively to the highest potential and efficiency at work. The personal factors significantly related to happiness at work were gender, educational level, working department. and career planning at the level of 95%, while age, marital status, position level, working hours, sick leave days and service year were significantly correlated to happiness at work.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleความสุขในการทำงานของพนักงานบริการส่วนหน้าของโรงแรมในจังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeHappiness at Work of Front of the House Employees at Hotels in Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความสุขในการทำงานของพนักงานบริการส่วนหน้าของโรงแรมในจังหวัดเชียงใหม่ และเพื่อศึกษาระดับความสุขในการทำงานของพนักงานบริการส่วนหน้าของโรงแรมในจังหวัดเชียงใหม่ โดยทำการศึกษาจากพนักงานบริการส่วนหน้าของโรงแรมในจังหวัดเชียงใหม่ ทั้งสิ้น 254 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการใช้แบบสอบถามค่าสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ประกอบด้วย ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าแจกแจงแบบที การวิเคราะห์ความแปรปรวน การเปรียบเทียบความแตกต่างเป็นรายคู่ด้วยวิธี เซฟเฟและการทดสอบความสมพันธ์ระหว่างตัวแปรด้วยการวิเคราะห์สมการถดถอยแบบเชิงเส้น ผลการศึกษาพบว่าพนักงานบริการส่วนหน้าของโรงแรมในจังหวัดเชียงใหม่ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุระหว่าง21 –30 ปีสถานภาพโสดการศึกษาระดับปริญญาตรีปฏิบัติงานในแผนกอาหารและเครื่องดื่ม ระดับตำแหน่งการปฏิบัติงานระดับที่ 1 และระดับที่ 4 มีอายุการทำงานมากกว่า 5 ปี ทำงานสัปดาห์ละ 50 ชั่วโมง ส่วนใหญ่ไม่เคยใช้วันลาและวางแผนจะร่วมงานกับองค์กรจำนวน 5 ปี โดยระดับความสุขในการทำงานของพนักงานบริการส่วนหน้าของโรงแรม ในจังหวัดเชียงใหม่อยู่ในระดับสูง สอดคล้องกับภาพรวมความสุขและระดับของศักยภาพและสมรรถนะในการทำงานให้ถึงจุดสูงสุดได้ซึ่งอยู่ในระดับสูงโดยมีความคิดเห็นต่อปัจจัยที่มีผลต่อการทำงานอย่างมีความสุขอยู่ในระดับเห็นด้วย ในปัจจัยด้านความผูกพันต่องานและปัจจัยด้านด้านความเชื่อมั่น และระดับค่อนข้างเห็นด้วยในปัจจัยด้านผลงานด้านวัฒนธรรมองค์กร และ ด้านความมั่นใจตามลำดับ จากการวิเคราะห์สมการถดถอยแบบเชิงเส้น เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่มีผลต่อการทำงานอย่างมีความสุขกับคุณลักษณะสำคัญที่มีความสำคัญต่อความสุขในการทำงานของบุคคลในภาพรวม พบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อการทำงานอย่างมีความสุขกับคุณลักษณะสำคัญที่มีความสำคัญต่อความสุขในการทำงานของบุคคลในภาพรวม โดยปัจจัยด้านความผูกพันต่องานมีน้ำหนักในการพยากรณ์มากที่สุด รองลงมาคือ ปัจจัยด้านวัฒนธรรมองค์กร ปัจจัยด้านความมั่นใจ ปัจจัยด้านผลงาน และความเชื่อมั่น ตามลำดับ และพบว่า ความภาคภูมิใจ ความไว้วางใจ และการได้รับการยอมรับ มีความสัมพันธ์ในเชิงบวกกับระดับของศักยภาพและสมรรถนะในการทำงานให้ถึงจุดสูงสุดได้ ส่วนปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่อายุ สถานภาพการสมรสระดับของตำแหน่งการปฏิบัติงานอายุการทำงานชั่วโมงการทำงานปกติและจำนวนวันลาป่วยไม่มีความสัมพันธ์กับความสุขในการทำงาน ณ ระดับความเชื่อมั่น 95%en_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf3.28 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.