Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68839
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นทัต อัศภาภรณ์-
dc.contributor.advisorดร.สุรัตน์ หงษ์สิบสอง-
dc.contributor.authorบุญยม โปธามูลen_US
dc.date.accessioned2020-06-24T03:06:35Z-
dc.date.available2020-06-24T03:06:35Z-
dc.date.issued2015-12-
dc.identifier.urihttp://search.lib.cmu.ac.th/search~S0/?searchtype=t&searcharg=%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%84%E0%B8%B2%E0%B8%94%E0%B8%AB%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B6%E0%B8%87%E0%B8%9E%E0%B8%AD%E0%B9%83%E0%B8%88%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%9C%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B8%9B%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0%B8%95%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%87%E0%B8%9E%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%A5%E0%B8%AA%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%8E%E0%B8%A3&sortdropdown=-&SORT=D&extended=0&SUBMIT=Search&searchlimits=&searchorigarg=a%7Bu0E18%7D%7Bu0E35%7D%7Bu0E23%7D%7Bu0E27%7D%7Bu0E31%7D%7Bu0E12%7D%7Bu0E19%7D%7Bu0E4C%7D+%7Bu0E2D%7D%7Bu0E49%7D%7Bu0E19%7D%7Bu0E08%7D%7Bu0E31%7D%7Bu0E19%7D%7Bu0E17%7D%7Bu0E23%7D%7Bu0E4C%7D-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68839-
dc.description.abstractThe objective of this study was to investigate the expectations and satisfactions of patients toward food service in Siamrad Hospital Chiang Mai. The population of this study was 50 patients, which were willing to cooperate in the study. Data were collected by questionnaires and analyzed by frequency, mean, percentage and standard deviation. Most of patient lived in Patan sub-district (32.00%). They were female (62.00%) and aged between 21 - 40 years old (44.00%). They were Buddhist (78.0%) and graduated in secondary education level (36.00%). Their occupation was state enterprise employee and employees (30.00%), with an average income more than 10,000 Baht per month (34.00%). They admitted in the hospital for 1 - 2 days (90.00%) and preferred sweet food (26.00%). The results showed that in overall, the expectations of patients toward food service were at highest level, the most expectation toward food was the diversity of food (4.72), followed by the expectation toward containers and utensils (4.50) used with food (4.52), which was the expectation on clean and free of dirt food containers, and adequate containers and utensils. In overall, most of patients satisfied in food service at high level. The most satisfaction toward food characteristics was the variety of food, followed by the satisfaction toward containers and utensils (3.51) which was the satisfaction on clean and free of dirt containers(3.58)respectively.en_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectผู้ป่วยen_US
dc.subjectการรับบริการอาหารen_US
dc.subjectโรงพยาบาลสยามราษฎร์ เชียงใหม่en_US
dc.titleความคาดหวังและความพึงพอใจของผู้ป่วยต่อการรับบริการอาหารในโรงพยาบาลสยามราษฎร์ เชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeExpectations and Satisfactions of Patients Toward Food Service in Siamrad Hospital Chiang Maien_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc658.8342-
thailis.controlvocab.thashโรงพยาบาลสยามราษฎร์เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashความพอใจของผู้ป่วย -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashความพอใจของผู้ใช้บริการ -- เชียงใหม่-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 658.8342 บ436ค-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความคาดหวังและความพึงพอใจในการให้บริการอาหารผู้ป่วยของโรงพยาบาลสยามราษฎร์ เชียงใหม่ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้จำนวน 50 คน ซึ่งยินดีให้ความร่วมมือในการศึกษา เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถาม และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการแจกแจงความถี่ หาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานประชากรส่วนใหญ่มีภูมิลำเนาอยู่ที่ตำบล ป่าตัน (ร้อยละ 32.00) เป็นเพศหญิง (ร้อยละ 62.00) มีอายุอยู่ระหว่าง21 - 40 (ร้อยละ 44.00) นับถือศาสนาพุทธ (ร้อยละ 78.00) มีการศึกษาระดับมัธยมศึกษา (ร้อยละ 36.00) มีอาชีพเป็นพนักงานรัฐวิสาหกิจและรับจ้าง (ร้อยละ 30.00) มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนมากกว่า 10,000 บาท (ร้อยละ 34.00) เข้ารับการรักษา 1 - 2 วัน (ร้อยละ 90.00) และผู้ป่วยส่วนใหญ่ชอบอาหารที่มีรสหวาน (ร้อยละ 26.00) ผลการศึกษาพบว่า ความคาดหวังของผู้ป่วยต่อการรับบริการอาหารโดยรวม ส่วนใหญ่ มีความคาดหวังอยู่ในระดับมากที่สุดโดยเรื่องที่ได้คะแนนสูงที่สุด คือ ลักษณะอาหารที่ให้บริการผู้ป่วย (4.63) ในเรื่อง มีการจัดอาหารให้หลากหลาย (4.72) รองลงมา คือ ลักษณะภาชนะบรรจุอาหารและอุปกรณ์ที่ใช้สัมผัสรับประทานอาหาร (4.50) ในเรื่อง ภาชนะที่ใส่อาหารสะอาด ไม่มีคราบสกปรก (4.52) และมีภาชนะและอุปกรณ์ที่เพียงพอ (4.52)ในส่วนผลการศึกษาความพึงพอใจของผู้ป่วยต่อการรับบริการอาหารโดยรวม ส่วนใหญ่มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก โดยเรื่องที่มีคะแนนสูงที่สุด คือ ลักษณะอาหารที่ให้บริการ (3.58) ในเรื่อง มีการจัดอาหารให้หลากหลาย (3.72)รองลงมา คือ ลักษณะภาชนะบรรจุอาหารและอุปกรณ์ที่ใช้สัมผัสรับประทานอาหาร (3.51)ในเรื่อง ภาชนะที่ใส่อาหารสะอาด ไม่มีคราบสกปรก (3.58) ตามลำดับen_US
Appears in Collections:GRAD-Sciences and Technology: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf2.37 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.