Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68700
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorภานุพงษ์ โนจิตรen_US
dc.contributor.authorจิรเดช อำไพพันธุ์en_US
dc.contributor.authorพงศกร เชื่อมไมตรีen_US
dc.date.accessioned2020-06-10T07:12:26Z-
dc.date.available2020-06-10T07:12:26Z-
dc.date.issued2557en_US
dc.identifier.citationเชียงใหม่สัตวแพทยสาร 12,3 (ก.ย.-ธ.ค. 2557) 167-178en_US
dc.identifier.issn0857-6920en_US
dc.identifier.urihttps://he02.tci-thaijo.org/index.php/vis/article/view/146488/107998en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/68700-
dc.descriptionเชียงใหม่สัตวแพทยสาร เป็นวารสารเผยแพร่เผยแพร่ผลงานทางวิชาการที่มีคุณภาพในลักษณะต่าง ๆ เช่น บทความต้นฉบับ (Original article) บทความปริทัศน์ (Review article) รายงานฉบับย่อ (Short communication) และรายงานสัตว์ป่วย (Case report) ที่เกี่ยวข้องกับทางด้านสัตวแพทยศาสตร์ (Veterinary Science) และวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีการสัตว์ (Animal Science and Technology) ได้แก่ ชีววิทยา สรีรวิทยา จุลชีววิทยา พยาธิวิทยา โภชนาการศาสตร์ กายวิภาคศาสตร์ พันธุศาสตร์ อายุรศาสตร์ ศัลยศาสตร์ สูติศาสตร์ วิทยาศาสตร์ทางชีวภาพวิทยาศาสตร์พื้นฐาน ระบาดวิทยาและแนวทางสุขภาพหนึ่งเดียวen_US
dc.description.abstractเฮทเตอโรฟิลเป็นเซลล์ในระบบภูมิคุ้มกันของไก่ที่สําคัญโดยมีหน้าที่ตอบสนองเบื้องต้นต่อการติดเชื้อเนื่องจากมีกลไกทําลายเชื้อโรคทั้งแบบภายในเซลล์และภายนอกเซลล์วัตถุประสงค์ของการศึกษานี้เพื่อทดสอบผลของสารเคอร์ซิติน (QH) ต่อกระบวนการทําลายเชื้อโรคภายในเซลล์ ได้แก่ การสร้างสารปฏิกิริยาออกซิเจนที่เป็นพิษ (ROS) การเก็บกินและการทําลายเชื้อโรค (phagocytosis and microbial killing) และต่อกระบวนการทําลายเชื้อภายนอกเซลล์คือการสร้าง Heterophil Extracellular Traps (HETs) ผลการศึกษาพบว่าเซลล์เฮทเตอโรฟิลที่แยกได้จากไขกระดูกเมื่อนํามากระตุ้นเบื้องต้นด้วยสารเคอร์ซิตินที่ระดับความเข้มข้น 50 ไมโครโมล (μM) นาน 30 นาทีและกระตุ้นเซลล์ซ้ำด้วยสาร PMA สารเคอร์ซิตินสามารถส่งเสริมให้เกิดการผลิต ROS เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสําคัญ(p=0.005) กระบวนการเก็บกินเชื้อSalmonella Enteritidis ที่ย้อมสีฟลูออเรสเซนส์ของเฮทเตอโรฟิลในกลุ่ม QH ให้ผลการเก็บกินที่ลดลงเล็กน้อย (p=0.62) กระบวนการทําลายเชื้อSalmonella Enteritidis ในกลุ่ม QH พบการทําลายเชื้อเพิ่มขึ้น (p=0.04) นอกจากนี้สารเคอร์ซิตินยังมีผลต่อการเพิ่มการสร้างโครงสร้าง HETs อย่างมีนัยสําคัญ(p=0.007) การศึกษานี้สรุปได้ว่าการเสริมสารเคอร์ซิตินที่ความเข้มข้น 50 μM ส่งผลต่อหน้าที่ของเซลล์เฮทเตอโรฟิลโดยเพิ่มกระบวนการทําลายเชื้อแบคทีเรียได้ Chicken heterophils responds to microbial invasions by utilizing innately equipped-intracellular and extracellular killing mechanisms. The objective of this research was to study the effects of quercetin (QH) on chicken heterophil effector functions, namely; ROS generation, phagocytosis & bacterial killing, and Heterophil Extracellular Traps (HETs). To conduct the experiments, BM-derived heterophils were fi rst primed with 50 μM QH for 30 min and subsequently stimulated with PMA. The results showed that ROS molecules were remarkably increased in QH-primed group (p=0.005) whereas quercetin slightly suppressed phagocytosis of fl uorescent labeling of Salmonella Enteritidis (SE) (p=0.62). Supplementation of quercetin aided heterophils in killing of live SE more effi ciently than PBS (p=0.04). Extracellular killing was assessed by enumeration of HETs. The observation of HET structures obviously revealed that the QH-primed cells had note worthy HET-DNA release (p=0.007). Taken together, 50 μM of quercetin supplementation enhances functional activities of heterophils in the killing of bacteria.en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะสัตวแพทศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectเฮทเตอโรฟิลen_US
dc.subjectเคอร์ซิตินen_US
dc.subjectการทำหน้าที่ของเซลล์en_US
dc.subjectไก่en_US
dc.titleผลของสารเคอร์ซิตินต่อการทําหน้าที่ของเซลล์เฮทเตอโรฟิลของไก่en_US
dc.title.alternativeEffects of quercetin on chicken heterophil cellular functionsen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.