Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66862
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรองศาสตราจารย์อรชร มณีสงฆ์-
dc.contributor.authorร่มฉัตร นาวะระen_US
dc.date.accessioned2019-09-23T04:19:48Z-
dc.date.available2019-09-23T04:19:48Z-
dc.date.issued2015-12-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66862-
dc.description.abstractThis independent study aimed to explore marketing mix affecting consumers towards purchasing Thai sweets from Thai sweets shop in Mueang Chiang Mai district. The data were compiled from 400 questionnaires distributed to customers who visited Thai sweets shop. The given data were then analyzed by using descriptive statistics consisted of a frequency, a percentage, and a mean. The research results were summarized as follows. It was found from the study that most customers were female aging from 30 to 39 years old. Most of them were married and worked for private companies. Most respondents graduated with Bachelor’s Degrees and earned from 20,000 to 29,999 Baht per month. They usually purchased Thai sweets in Chiang Mai from Wan La Moon shop and Ruen Mai Tai Yai shop. The main reason for them to purchase from Thai sweets shops in Chiang Mai was the good taste. Most of them purchased Thai sweets made from eggs such as Foi Tong, Tong Yip, Tong Yod, Met Kanoon and Kaya. Even though there were many bakeries to choose from, most of the respondents opted to buy Thai sweets because of the good taste. Most of them purchased Thai sweets for themselves 1 to 3 times per month. They usually purchased Thai sweets on weekdays (Monday to Friday). They averagely spent more than 250 Baht per visit. They always purchased from the same shops. The person who had the most influence over their purchasing decision was themselves. Their friends or acquaintances recommended Thai sweets shops for them. If there were Thai sweets shops operating in the same manner as a bakery, with spaces to relax while drinking tea or coffee, they would definitely purchased from such places. They would like these shops to be decorated in a contemporary-Thai style. As a result of the study, the marketing mix affecting consumers towards purchasing Thai sweets from Thai sweets shop in Mueang Chiang Mai district at a medium level were Product, Promotion, Price, and Place respectively. The sub factors for marketing mix affecting consumers towards purchasing Thai sweets from Thai sweets shop in Mueang Chiang Mai district with the highest average were as followed: For Product, the highest average was for the fact that Thai sweets tasted good. For Price, the highest average was for the fact that the pricing was suitable for the quality of the sweets. For Place, the highest average was for the convenient location of the Thai sweets shops. For Promotion, the highest average was for the pleasant service of the staff.en_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectส่วนประสมการตลาดen_US
dc.subjectขนมไทยen_US
dc.subjectผู้บริโภคen_US
dc.titleส่วนประสมการตลาดที่มีผลต่อผู้บริโภคในการซื้อขนมไทย จากร้านขนมไทยในอำเภอเมืองเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeMarketing Mix Affecting Consumers Towards Purchasing Thai Sweets From Thai Sweets Shop in Mueang Chiang Mai Districten_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc658.8342-
thailis.controlvocab.thashความพอใจของผู้บริโภค -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashร้านขนมไทย -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashร้านขนมไทย -- การตลาด-
thailis.controlvocab.thashการเลือกซื้อสินค้า-
thailis.manuscript.sourceว/ภน 658.8342 ร162ส-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาส่วนประสมการตลาดที่มีผลต่อผู้บริโภคในการเลือกซื้อขนมไทย จากร้านขนมไทยในอำเภอเมืองเชียงใหม่โดยทำการเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ซึ่งสอบถามจากผู้ที่ซื้อหรือเคยซื้อขนมไทย จากร้านขนมไทย ในอำเภอเมืองเชียงใหม่ จำนวน 400 ราย และนำข้อมูลมาวิเคราะห์โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ และค่าเฉลี่ย ซึ่งสรุปผลการศึกษาได้ดังนี้ จากการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุ 30 – 39 ปี สถานภาพ สมรส อาชีพ พนักงานบริษัทเอกชน การศึกษาสูงสุด ปริญญาตรี รายได้เฉลี่ยต่อเดือน 20,000 – 29,999 บาท ร้านขนมไทยในอำเภอเมืองเชียงใหม่ที่ซื้อเป็นประจำ คือ ร้านหวานละมุน และร้านเรือนไม้ไทยใหญ่ เหตุผลที่เลือกซื้อขนมไทย จากร้านขนมไทยในอำเภอเมืองเชียงใหม่ คือ รสชาติอร่อย ประเภทขนมไทยที่ซื้อ คือ ขนมประเภทไข่ เช่น ฝอยทอง ทองหยิบ ทองหยอด เม็ดขนุน สังขยา เหตุผลที่เลือกซื้อขนมไทย ทั้งๆ ที่มีร้านเบเกอรี่ให้เลือกมากมาย คือ รสชาติอร่อย วัตถุประสงค์ของการซื้อ เพื่อรับประทานเอง ความถี่ในการซื้อ เดือนละ 1 - 3 ครั้ง วันที่เข้ามาซื้อบ่อยที่สุด คือ วันธรรมดา (จันทร์ - ศุกร์) ค่าใช้จ่ายโดยเฉลี่ยต่อครั้งที่ซื้อ มากกว่า 250 บาท วิธีการเลือกซื้อ ซื้อยี่ห้อเดิมเป็นประจำ บุคคลผู้แนะนำที่มีผลต่อการตัดสินใจมากที่สุด คือ ตัวท่านเอง เพื่อนหรือคนรู้จักแนะนำ เป็นแหล่งข้อมูลในการรู้จักร้านขนมไทยในอำเภอเมืองเชียงใหม่ หากมีร้านขายขนมไทยแบบร้านเบเกอรี่ โดยร้านมีที่ให้นั่งจิบชา/กาแฟ กับขนมไทยจะใช้บริการแน่นอน รูปแบบการตกแต่งของร้านขนมไทยดังกล่าว แบบไทยร่วมสมัย ผลการศึกษา ส่วนประสมการตลาดที่มีผลต่อผู้บริโภคในการเลือกซื้อขนมไทย จากร้านขนมไทยในอำเภอเมืองเชียงใหม่ พบว่า ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดมีผลอยู่ในระดับปานกลางทั้งหมด สามารถเรียงตามลำดับค่าเฉลี่ยได้ดังต่อไปนี้ คือ ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ ปัจจัยด้านการส่งเสริมการตลาด ปัจจัยด้านราคา และปัจจัยด้านช่องทางการจัดจำหน่าย ตามลำดับ ปัจจัยย่อยของส่วนประสมการตลาดที่มีผลต่อผู้บริโภคในการเลือกซื้อขนมไทย จากร้านขนมไทยในอำเภอเมืองเชียงใหม่ มีค่าเฉลี่ยสูงสุดแต่ละด้านมีดังนี้ ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ คือ ขนมไทยมีรสชาติอร่อย ปัจจัยด้านราคา คือ ราคาเหมาะสมกับคุณภาพ ปัจจัยด้านช่องทางการจัดจำหน่าย คือ ร้านจำหน่ายขนมไทยอยู่ในที่ที่มีการสัญจรไปมาสะดวก และปัจจัยด้านการส่งเสริมการตลาด คือ การให้บริการที่ดีของพนักงานen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf2.99 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.