Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66249
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorพัชรินทร์ คำแก่นen_US
dc.contributor.authorจินดารัตน์ ชัยอาจen_US
dc.contributor.authorนิตยา ภิญโญคำen_US
dc.date.accessioned2019-08-21T09:18:24Z-
dc.date.available2019-08-21T09:18:24Z-
dc.date.issued2562en_US
dc.identifier.citationพยาบาลสาร 46, 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2562), 24-35en_US
dc.identifier.issn0125-0078en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/197079/137066en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66249-
dc.descriptionวารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัดทำโดย สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ กำหนดออกปีละ 4 ฉบับen_US
dc.description.abstractโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังเป็นโรคที่พบได้บ่อยของปัญหาในระบบทางเดินหายใจ โดยทำให้มีกลุ่มอาการเกิดขึ้น ส่งผลกระทบต่อผู้ป่วยทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์และสังคม การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอำนาจในการทำนายการเกิดกลุ่มอาการของผู้ที่เป็นโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ได้แก่ สมรรถภาพการทำงานของปอด ภาวะโภชนาการ แบบแผนการสูบบุหรี่ การรับรู้สมรรถนะแห่งตน และการรับรู้การสนับสนุนทางสังคม กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ที่เป็นโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง อายุระหว่าง 45-65 ปี ที่มารับบริการในแผนกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์ และโรงพยาบาลแม่จัน รวมทั้งสิ้นจำนวน 152 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามกลุ่มอาการ แบบสอบถามการรับรู้สมรรถนะแห่งตน และแบบสอบถามการรับรู้การสนับสนุนทางสังคม ซึ่งได้ผ่านการตรวจสอบความตรงด้านเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ และทดสอบค่าความเชื่อมั่น โดยมีค่าสัมประสิทธิ์อัลฟาครอนบาค 0.82, 0.93 และ 0.86 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยทำนายการเกิดกลุ่มอาการ ได้แก่ ภาวะโภชนาการน้ำหนักตัวต่ำกว่ามาตรฐาน การรับรู้สมรรถนะแห่งตนในระดับต่ำ การรับรู้สมรรถนะแห่งตนในระดับปานกลาง และการรับรู้การสนับสนุนทางสังคมในระดับปานกลาง สามารถร่วมกันทำนายการเกิดกลุ่มอาการของผู้ที่เป็นโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังได้ร้อยละ 26 (p<.001) ผลการวิจัยครั้งนี้เป็นข้อมูลสำหรับพยาบาล เพื่อดูแลผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง โดยการส่งเสริมภาวะโภชนาการในผู้ที่มีน้ำหนักตัวต่ำกว่ามาตรฐาน การส่งเสริมสมรรถนะแห่งตนและการสนับสนุนทางสังคม เพื่อช่วยให้การรับรู้การเกิดกลุ่มอาการลดลงen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectปัจจัยทำนายen_US
dc.subjectกลุ่มอาการen_US
dc.subjectโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังen_US
dc.titleปัจจัยทำนายกลุ่มอาการของผู้ที่เป็นโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังen_US
dc.title.alternativeFactors Predicting Symptom Clusters Among Persons with Chronic Obstructive Pulmonary Diseaseen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.