Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/48728
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุวิมล อุดพ้วย-
dc.contributor.advisorศิริพร ชัยศรี-
dc.contributor.authorธนพล สุขลิ้มen_US
dc.date.accessioned2018-07-06T08:10:55Z-
dc.date.available2018-07-06T08:10:55Z-
dc.date.issued2014-07-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/48728-
dc.description.abstractThis study applied geophysical survey including gravity, electrical resistivity, and seismic reflection methods to locate potentially active subsurface faults and associated geologic structure in the vicinity of the epicenters of significant earthquakes occurred in San Sai District, Chiang Mai Province. This prospective fault system is oriented in NNW-SSE direction across San Sai District area in the eastern part of the Chiang Mai Basin. The area is covered by Quaternary and Tertiary sediment comprising gravel, sand, silt, clay and laterite. The underlying basement has been reported to be the Carboniferous clastic sedimentary rocks including sandstone and shale. Two geophysical survey lines with 1 and 1.2 km long traversing the prospect fault trend line were conducted. Gravity data were acquired at every 30 m station. The Bouguer gravity profiles show smooth increasing gravity values from western to eastern direction and do not represent dominant gravity anomaly with related to proposed fault locations. However, the gravity results represent the west dipping direction of the rock basement. Electrical resistivity surveys were acquired using a dipole-dipole electrode configuration with 10 m electrode spacing while seismic reflection data were collected using 10 m geophone spacing and 5 m shot spacing. The electrical resistivity and seismic reflection results were integrated for fault interpretation together with previous study data. The interpretation presents two normal fault systems, the first cutting the upper part of the sections and the second the lower part. A few faults have offsets across an inferred upper layer and appear to continue upward to the surface. These particular faults may be appropriate candidates for being the active faults related to the significant earthquake activities in the area. This potentially active fault system should be studied in more details to confirm its geometry, orientation and lateral extent.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectธรณีฟิสิกส์en_US
dc.subjectรอยเลื่อนen_US
dc.subjectพลังใต้ผิวดินen_US
dc.titleการสำรวจธรณีฟิสิกส์เพื่อตรวจสอบรอยเลื่อนศักยภาพมีพลังใต้ผิวดินใน อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeGeophysical Surveys to Detect Subsurface Potential Active Faults in San Sai District, Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeThesis
thailis.classification.ddc550-
thailis.controlvocab.thashธรณีฟิสิกส์ -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashคลื่นสั่นสะเทือน-
thailis.controlvocab.thashการสำรวจทางธรณีฟิสิกส์ -- เชียงใหม่-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 550 ธ156ก-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาครั้งนี้ใช้การสำรวจทางธรณีฟิสิกส์ ดังนี้ การสำรวจด้านแรงโน้มถ่วง การสำรวจด้านความต้านทานไฟฟ้าจำเพาะ และการสำรวจคลื่นไหวสะเทือนแบบสะท้อน เพื่อตรวจสอบ ระบุตำแหน่งรอยเลื่อนศักยภาพมีพลัง และโครงสร้างทางธรณีวิทยา ซึ่งอยู่ในบริเวณศูนย์กลางของการเกิดแผ่นดินไหวใน อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ รอยเลื่อนที่สนใจนี้มีทิศทางการวางตัวอยู่ในแนว ตะวันตกเฉียงเหนือ ตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งอยู่ในบริเวณพื้นที่อำเภอสันทราย ทางด้านตะวันออกของแอ่งเชียงใหม่ พื้นที่นี้ถูกปกคลุมด้วยตะกอนยุคควอเทอร์นารี และเทอร์เทียรี ที่ประกอบไปด้วยกรวด ตะกอนทราย ดินเหนียว และศิลาแลง ส่วนชั้นหินฐานรากเป็นแร่หินตะกอนยุคคาร์บอนิเฟอรัส ประกอบไปด้วยหินทราย และหินดินดาน การสำรวจทางธรณีฟิสิกส์แบ่งออกเป็น 2 เส้นการสำรวจ แต่ละเส้นการสำรวจมีความยาว 1 และ 1.2 กิโลเมตร โดยเส้นการสำรวจวางตัวในแนวตั้งฉากกับรอยเลื่อนที่สนใจ ข้อมูลการสำรวจด้านแรงโน้มถ่วง ระยะห่างของการสำรวจของแต่ละสถานี มีระยะห่าง 30 เมตร ค่าความผิดปรกติด้านแรงโน้มถ่วงบูเกอร์ แสดงค่าเพิ่มขึ้นเพียงเล็กน้อย ในทิศทางตะวันตกไปทางตะวันออก และไม่ได้แสดงค่าความผิดปกติอย่างเด่นชัด อย่างไรก็ตามผลของค่าความผิดปรกติด้านโน้มถ่วงนั้นได้แสดงการเอียงตัวของชั้นหินฐานรากไปในทางทิศตะวันตก การสำรวจด้านความต้านทานไฟฟ้าจำเพาะใช้การวางขั้วแบบไดโพล-ไดโพล โดยมีระยะห่างของขั้วไฟฟ้า 10 เมตร ในขณะที่การเก็บข้อมูลของการสำรวจคลื่นไหวสะเทือนแบบสะท้อนมีระยะการวางตัวรับสัญญาณทุกๆ 10 เมตร และระยะห่างของตัวกำเนิดสัญญาณไหวสะเทือนทุกๆ 5 เมตร ผลของการสำรวจด้านความต้านทานไฟฟ้าจำเพาะ และคลื่นไหวสะเทือนแบบสะท้อน ใช้ในการแปลผลร่วมกัน กับการศึกษาก่อนหน้านี้ ผลจากการแปลความหมายแสดงให้เห็นว่า ในบริเวณนี้เป็นรอยเลื่อนแบบปรกติแบ่งเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนแรก พบรอยเลื่อนในระดับตื้น และส่วนที่สอง พบรอยเลื่อนอยู่ในระดับลึก โดยมีรอยเลื่อนบางตัวนั้นตัดผ่านขึ้นมาถึงบริเวณพื้นผิว ซึ่งรอยเลื่อนเหล่านี้อาจจะเป็นรอยเลื่อนที่มีศักยภาพเป็นรอยเลื่อนที่มีพลังใต้ผิวดิน ที่มีความเกี่ยวข้องกับแผ่นดินไหวที่เกิดขึ้นในพื้นที่บริเวณนี้ ทั้งนี้ควรจะมีการศึกษาในรายละเอียดเพิ่มเติมเพื่อยืนยันของลักษณะโครงสร้าง ทิศทาง และการเคลื่อนตัวต่อไป  en_US
Appears in Collections:SCIENCE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.pdfABSTRACT199.03 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
APPENDIX.pdf APPENDIX3.9 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 1.pdf CHAPTER 1966.24 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 2.pdfCHAPTER 2840.83 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 3.pdf CHAPTER 35.42 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 4.pdf CHAPTER 44.43 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 5.pdf CHAPTER 5142.76 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CONTENT.pdf CONTENT325.66 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
COVER.pdf COVER511.27 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
REFERENCE.pdf REFERENCE169.97 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.