Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/48595
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิมพ์ชนก เครือสุคนธ์-
dc.contributor.authorภัทราภรณ์ กุยแก้วen_US
dc.date.accessioned2018-05-02T02:13:48Z-
dc.date.available2018-05-02T02:13:48Z-
dc.date.issued2015-07-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/48595-
dc.description.abstractThe purposes of this research were (1) to study the relationship between perceived external prestige, turnover intention and affective commitment and (2) to examine predictive power of perceived external prestige on turnover intention with affective commitment as a mediating variable. The correlational research design was used. The respondents were 315 Chiang Mai University staff. Research instruments consisted of 4 scales: demographic data scale, perceived external prestige scale, affective commitment scale and turnover intention scale. For data analysis, correlation analysis, multiple regression analysis (Causal Steps of Baron & Kenny, 1986 cited in Kenny, 2014) and Sobel test were used. The result indicated that affective commitment fully mediated the relationship between perceived external prestige and turnover intention of Chiang Mai University staff.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้การยกย่ององค์การจากภายนอกและความตั้งใจในการลาออกของพนักงานส่วนงานมหาวิทยาลัยเชียงใหม่: บทบาทการเป็นตัวแปรสื่อของความผูกพันเชิงอารมณ์en_US
dc.title.alternativeThe Relationship Between Perceived External Prestige and Turnover Intention of Chiang Mai University Staffs: The Mediating Role of Affective Commitmenten_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้การยกย่ององค์การจากภายนอก ความผูกพันเชิงอารมณ์ และความตั้งใจในการลาออก (2) ศึกษาอำนาจการทำนายของการรับรู้การยกย่ององค์การจากภายนอกต่อความตั้งใจในการลาออก โดยมีความผูกพันเชิงอารมณ์เป็นตัวแปรสื่อ รูปแบบการศึกษาเป็นงานวิจัยเชิงสหสัมพันธ์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คือ พนักงานส่วนงานของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่จำนวน 315 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับผู้ตอบแบบสอบถาม แบบวัดการรับรู้การยกย่ององค์การจากภายนอก แบบวัดความผูกพันเชิงอารมณ์ และแบบวัดความตั้งใจในการลาออก การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนา การวิเคราะห์สหสัมพันธ์ และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ โดยใช้วิธี Causal Steps ของ Baron & Kenny (1986 อ้างใน Kenny, 2014) และการคำนวณค่าสถิติของโซเบล (Sobel Test) ซึ่งผลการศึกษาพบว่า การรับรู้การยกย่ององค์การจากภายนอก มีอำนาจการทำนายความตั้งใจในการลาออกของพนักงานส่วนงานมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยมีความผูกพันเชิงอารมณ์เป็นตัวแปรสื่ออย่างสมบูรณ์en_US
Appears in Collections:HUMAN: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.docxAbstract (words)174.46 kBMicrosoft Word XMLView/Open    Request a copy
ABSTRACT.pdfAbstract170.26 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
FULL.pdfFull IS4.39 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.