Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/48558
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรองศาสตราจารย์อรพิณ สันติธีรากุล-
dc.contributor.authorขวัญตา เสมอเชื้อen_US
dc.date.accessioned2018-04-27T08:41:18Z-
dc.date.available2018-04-27T08:41:18Z-
dc.date.issued2559-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/48558-
dc.description.abstractThis independent study aimed to assess the level of Learning Organization of the Post Offices in Chiang Mai Province. The samples used for this study consisted of 434 officials who worked at the Post Offices in Chiang Mai Province. The data was collected by using Dimensions of the Learning Organization Questionnaire (DLOQ) by Marsick and Watkins which consisted of personal demographic information, the Dimensions of Learning Organization, and problems/ recommendations. The quantitative data was analyzed by descriptive statistic: frequency, percentage and mean, including the analysis of variance: One-way ANOVA, LSD and Tamhane’s T2. The results of the study revealed that most of the employees of the Post Offices in Chiang Mai Province were male, 25-30 years old, married, with the educational level of lower than Bachelor’s degree. Their position was state enterprise employee. They had been working for 0-5 years with an average monthly income of less than 20,000 bath. The findings from the study of the employees’ perception of the Post Offices in Chiang Mai Province as Learning Organization showed that the means all perception factors was 4.39. And the ranking of those factors, arranged from the highest to the lowest were as follows: 1) Financial performance 2) Knowledge performance 3) Providing strategic leadership for learning 4) Promoting inquiry and dialogue 5) Creating receiving and sharing learning system 6) Empowering individuals in a way that was in line with organisation’s vision 7) Connecting the organization to its environment 8) Encouraging collaboration and team learning, and 9) Creating continuous learning opportunities. The personal demographic factors that significantly related to Learning Organization were position and work period at the confidence level of 95%, while monthly income did not correlate significantly with Learning Organization.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการประเมินความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของ ที่ทำการไปรษณีย์ในจังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeAssessment of Learning Organization of Post Offices in Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเพื่อประเมินภาวะความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ ของที่ทำการไปรษณีย์ในจังหวัดเชียงใหม่ โดยมีประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ บุคลากรของที่ทำการไปรษณีย์ในจังหวัดเชียงใหม่ทั้งหมดจำนวน 434 ราย และ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามสำเร็จรูป DLOQ ของ Marsick และ Watkins โดยเก็บข้อมูลส่วนบุคคล การประเมินความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ 7 มิติและการวัดผลการดำเนินงานระดับองค์กรทางด้านความรู้และการเงิน ปัญหาและข้อเสนอแนะ ข้อมูลที่ได้นำมาวิเคราะห์ด้วยค่าสถิติ ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และ ใช้ One-way ANOVA ผลการศึกษา พบว่าบุคลากรสังกัดที่ทำการไปรษณีย์ในจังหวัดเชียงใหม่ ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุ 25-30 ปี มีสถานภาพสมรส ระดับการศึกษาคือต่ำกว่าปริญญาตรี มีตำแหน่งพนักงาน มีอายุการทำงาน(ตั้งแต่เริ่มทำงาน) 0-5 ปีและมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนไม่เกิน 20,000 บาท ผลการศึกษาการรับรู้ของบุคลากรของที่ทำการไปรษณีย์ในจังหวัดเชียงใหม่ ตามแนวคิดขององค์กรแห่งการเรียนรู้ตามแบบสอบถาม DLOQ มีค่าเฉลี่ยการรับรู้ของบุคลากรต่อความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของทุกตัวชี้วัดคือ 4.39 โดยเรียงลำดับตัวชี้วัดของความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ตามค่าเฉลี่ยที่มีค่ามากที่สุดไปน้อยที่สุด ได้แก่ การวัดผลทางการเงิน การวัดผลทางความรู้ การให้ภาวะผู้นำที่เป็นต้นแบบที่สนับสนุนการเรียนรู้ การสนับสนุนให้มีการซักถามและสนทนา การสร้างระบบการรับและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การให้อำนาจแต่ละบุคคลที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ขององค์กรการเชื่อมโยงองค์กรให้เข้ากับสภาพแวดล้อม การส่งเสริมการร่วมมือกันและการเรียนรู้เป็นทีม และการสร้างโอกาสในการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ปัจจัยลักษณะส่วนบุคคลที่มีความสัมพันธ์กับมิติของความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ ได้แก่ ตำแหน่งการทำงานและอายุการทำงาน โยมีความสัมพันธ์กับความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95% ส่วนปัจจัยลักษณะส่วนบุคคลที่ไม่มีความสัมพันธ์กับความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ในระดับความเชื่อมั่นดังกล่าวคือ รายได้เฉลี่ยต่อเดือนen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
abstract.docAbstract (words)193.5 kBMicrosoft WordView/Open
ABSTRACT.pdfAbstract 227.34 kBAdobe PDFView/Open
FULL.pdfFull IS4.63 MBAdobe PDFView/Open


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.