Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/46012
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นิพนธ์ ฉัตรทิพากร | - |
dc.contributor.advisor | สิริพร ฉัตรทิพากร | - |
dc.contributor.advisor | สุรีย์ เลขวรรณวิจิตร | - |
dc.contributor.advisor | เกริกวิชช์ ศิลปวิทยาทร | - |
dc.contributor.author | ธารวิมล อินทชัย | en_US |
dc.contributor.author | Tharnwimol Inthachai | en_US |
dc.date.accessioned | 2018-04-05T04:14:39Z | - |
dc.date.available | 2018-04-05T04:14:39Z | - |
dc.date.issued | 2014-09 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/46012 | - |
dc.description.abstract | Heart failure (HF) is the most common complication and a major cause of morbidity and mortality in patients with myocardial infarction (MI). It has been know that Enalapril, an angiotensin coverting enzyme (ACE) inhibitor, is a first-line drug for MI patients, which has been demonstrated to decrease risks of heart failure progression post-MI. Previous studies showed that enalapril could improve cardiac function and decrease cardiac remodeling including cardiac fibrosis and cardiac hypertrophy. Nowadays, clinical evidence shows that both metformin and vildagliptin, which have been used to treat type II diabetic patients, have cardioprotective effects. Data from several studies in the past decade suggested that these drug could decreased cardiac remodeling and improved cardiac function in both animal and clinical studies in non-diabetic and diabetic patients with MI. Despite cardioprotective effects of metformin and vildagliptin having been demonstrated, comparing data between these drugs in chronic MI has not been well studied. Therefore, we aimed to determine the effects of metformin and vildagliptin on the cardiac remodeling in chronic MI rats. We hypothesized that treatments with combined metformin and enalapril and combined vildagliptin and enalapril can improve cardiac remodeling and function compared with enalpril alone. To test the hypothesis, 36 male Wistar rats were induced chronic MI by left anterior descending coronary artery ligation. Then, all rats were randomly divided to receive vehicle, enalapril (10 mg/kg, once daily), metformin (15 mg/kg, twice day), vildagliptin (3 mg/kg, once daily), combined metformin and enalapril, or combined vildagliptin and enalapril, for 8 weeks. At the end of study, plasma malondialdehyde (MDA), heart rate variability (HRV), cardiac remodeling, cardiac function, Bcl-2, Bax, Connexin43, Caspase3, transforming growth factor-beta (TGF-β), phosphorylated-p38 (p-p38) and phosphorylated-p44/42 (p-p44/42) protein expressions were investigated. Our study demonstrated that chronic MI rats developed cardiac symphathovagal imbalance, increased oxidative stress levels, cardiac fibrosis in peri-infarct area, and LV dysfunction. Our study demonstrated that enalapril, vildagliptin, combined metformin and enalapril, and combined vildagliptin and enalapril could improve cardiac function as well as decrease plasma MDA levels, low frequency and high frequency ratio, cardiac fibrosis in non infarct area in association with decreased p-p44/42 expression, whilst there was no difference in infarct size among all groups. Treatment with metformin alone did not alter cardiac remodeling and cardiac function in chronic MI rats. Only treatment with enalapril could decrease Bax/Bcl-2 protein expression whilst all pharmacological treatments in this study did not alter Bcl-2, Bax, p-p38, TGF-β, connexin 43, caspase3 expression and cardiomyocyte hypertrophy. We conclude that treatments with vildagliptin, enalapril, combined metformin and enalapril, and combined vildagliptin and enalapril can improve cardiac function and attenuate cardiac fibrosis via decreased p-p44/42 expression in chronic MI rats. However, combining either metformin or vildagliptin with enalapril does not have additional cardioprotective effects compared to enalapril alone. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | Metformin | en_US |
dc.subject | Vildagliptin | en_US |
dc.title | Effects of Metformin and Vildagliptin on the Rat’s Heart with Chronic Myocardial Infarction | en_US |
dc.title.alternative | ผลของเมทฟอร์มินและวิลดากลิปตินต่อหัวใจหนูที่มีภาวะกล้ามเนื้อหัวใจตายเรื้อรัง | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.classification.ddc | W 4 | - |
thailis.controlvocab.mesh | Dissertations, academic -- Physiology | - |
thailis.controlvocab.mesh | Myocardial Infarction -- drug therapy | - |
thailis.controlvocab.mesh | Metformin | - |
thailis.controlvocab.mesh | Vildagliptin | - |
thailis.manuscript.callnumber | Thesis W 4 Physiol T367e 2014 | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | ภาวะหัวใจล้มเหลวเป็นภาวะแทรกซ้อนที่พบบ่อยหลังจากเกิดภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด ซึ่งเป็นสาเหตุสำคัญของการเสียชีวิต เป็นที่ทราบกันดีว่า ยาอีนาลาพิล ถูกนำมาใช้เพื่อช่วยชะลอการเกิดภาวะหัวใจล้มเหลวและเพิ่มอัตราการรอดชีวิตในผู้ป่วยที่มีภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด การศึกษาที่ผ่านทั้งทางคลินิกและในสัตว์ทดลอง พบว่ายาอีนาลาพิล ช่วยลดการเปลี่ยนแปลงของกล้ามเนื้อหัวใจ โดยลดขนาดของเซลล์กล้ามเนื้อหัวใจและการสร้างพังผืดในกล้ามเนื้อหัวใจ ซึ่งเป็นสาเหตุทำให้การทำงานของหัวใจแย่ลง และเกิดภาวะหัวใจล้มเหลวตามมาในที่สุด การศึกษาทางคลินิกปัจจุบันพบว่า ยาเมทฟอร์มินและวิลดากลิปติน ที่ใช้รักษาผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 มีคุณสมบัติปกป้องหัวใจ โดยมีรายงานว่าสามารถช่วยทำให้การทำงานของหัวใจดีขึ้นและป้องกันการเกิดหัวใจล้มเหลวตามมา ในผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด ทั้งในผู้ป่วยที่มีระดับน้ำตาลในเลือดปกติและผู้ป่วยเบาหวาน ซึ่งสอดคล้องกับการศึกษาในสัตว์ทดลอง ที่พบว่า ยาทั้งสองชนิดสามารถลดการเปลี่ยนแปลงของกล้ามเนื้อหัวใจในสัตว์ทดลองที่มีภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด แม้ว่าจะมีการศึกษาถึงผลของยาต้านเบาหวานทั้งสองชนิด แต่ยังไม่มีการศึกษาใดศึกษาผลของยาเมทฟอร์มิน ยาวิลดากลิปตินและการให้ยาร่วมกันระหว่างยาเมทฟอร์มินหรือวิลดากลิปตินและยาอีนาลาพิลเปรียบเทียบกับการได้รับยาอีนาลาพิลอย่างเดียวในหนูที่มีภาวะกล้ามเนื้อหัวใจตายเรื้อรัง ดังนั้นการศึกษานี้จึงทำการศึกษาผลของยาทั้งสองชนิดต่อการเปลี่ยนแปลงการทำงานและโครงสร้างของกล้ามเนื้อหัวใจ เปรียบเทียบกับหนูได้รับยาอีนาลาพิลเพียงอย่างเดียว โดยสมมุติฐานของการวิจัย คือการให้ยาเมทฟอร์มินและยาวิลดากลิปตินร่วมกับยาอีนาลาพิลจะให้ผลในการลดการเปลี่ยนแปลงของกล้ามเนื้อหัวใจได้ดีกว่าการได้รับยาอีนาลาพิลเพียงอย่างเดียว โดยหนูขาวจะถูกเหนี่ยวนำให้เกิดภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด โดยการผูกหลอดเลือด left anterior descending coronary artery (LAD) หลังจากนั้นทำการสุ่มให้ยาอีนาลาพิลที่ขนาด 10 มิลลิกรัมต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม เมทฟอร์มินขนาด 30 มิลลิกรัมต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม วิลดากลิปติน ขนาด 3 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม และการให้ยาร่วมกันระหว่างอีนาลาพิลและเมทฟอร์มินหรือวิลดากลิปติน เป็นเวลา 8 สัปดาห์ จากนั้นทำการศึกษาถึงผลของยาต่อการทำงานของหัวใจ การเปลี่ยนแปลงทางพยาธิสภาพของกล้ามเนื้อหัวใจ การเปลี่ยนแปลงระดับ malondialdehyde (MDA) ค่าความแปรปรวนของการเต้นของหัวใจและการเปลี่ยนแปลงระดับการแสดงออก Bcl-2, Bax, Connexin 43, Caspase3, TGF- β , p-p38 และ p-p44/42 ของกล้ามเนื้อหัวใจ จากการศึกษาพบว่า หนูขาวที่มีภาวะกล้ามเนื้อหัวใจตายเรื้อรัง มีค่าความแปรปรวนของการเต้นของหัวใจลดลง, การเพิ่มขึ้นของระดับ MDA, การสร้างผังผืดในหัวใจเพิ่มขึ้นและมีการทำงานของหัวใจที่ลดลง หนูขาวที่ได้รับยายาอีนาลาพิลและวิลดากลิปติน ช่วยทำให้ค่าความแปรปรวนของการเต้นของหัวใจดีขึ้น, ลดระดับ MDA, ลดการเกิดพังผืดในหัวใจและช่วยให้การทำงานของหัวใจดีขึ้น ผ่านการลดระดับการแสดงออกของฟอสโฟริเลชั่นของ p44/42 นอกจากนี้ยังพบว่าการให้ยาอีนาลาพิล การให้ยาร่วมกันระหว่างเมทฟอร์มินและอีนาลาพิล และวิลดากลิปตินและอีนาลาพิล ช่วยเพิ่มระดับการแสดงออกของโปรตีน Bax/Bcl-2 และเมื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพของยาวิดากลิปตินและยาอีนาลาพิล พบว่า ยาอีนาลาฟิลช่วยทำให้การทำงานของกล้ามเนื้อหัวใจดีขึ้นกว่าวิลดากลิปติน แต่ไม่มีความแตกต่างในการลดการสร้างพังผืดในหัวใจ จากการศึกษานี้สามารถสรุปได้ว่า ยาอีนาลาพิลและยาวิลดากลิปติน ช่วยลดการเปลี่ยนแปลงของหัวใจ และช่วยทำให้การทำงานของกล้ามเนื้อหัวใจดีขึ้น การให้ยาร่วมกันระหว่างเมทฟอร์มินหรือวิลดากลิปตินร่วมกับอีนาลาพิลมีผลในการช่วยลดการเปลี่ยนแปลงและการทำงานของกล้ามเนื้อหัวใจได้เท่ากับการให้ยาอีนาลาพิลเพียงอย่างเดียว ส่วนยาเมทฟอร์มินนั้นนั้นไม่มีผลลดการเปลี่ยนแปลงของกล้ามเนื้อหัวใจ และการทำงานของหัวใจอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ | en_US |
Appears in Collections: | MED: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ABSTRACT.pdf | ABSTRACT | 396.8 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
APPENDIX.pdf | APPENDIX | 256.2 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CHAPTER 1.pdf | CHAPTER 1 | 491.06 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CHAPTER 2.pdf | CHAPTER 2 | 391.04 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CHAPTER 3.pdf | CHAPTER 3 | 702.89 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CHAPTER 4.pdf | CHAPTER 4 | 249.46 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CONTENT.pdf | CONTENT | 255.84 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
COVER.pdf | COVER | 998.93 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
REFERENCE.pdf | REFERENCE | 274.41 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.