Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/46000
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ธนียา เจติยานุกรกุล | - |
dc.contributor.author | โชคนิธินันต์ คุณยศยิ่ง | en_US |
dc.date.accessioned | 2018-04-05T02:45:56Z | - |
dc.date.available | 2018-04-05T02:45:56Z | - |
dc.date.issued | 2557-09 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/46000 | - |
dc.description.abstract | ‘Poy Sang Long’ at Wat Pa Pao (Pa Pao’s Temple) in Chaing Maicity is a mighty ordinate tradition of Shan people which is called “Tai Yai”. The tradition encourages many tourism and shan people from everywhere to be participated ay Wat Pa Pao by strong collaboration between temple committee, inhabitants, local authority and any other volunteer. This research study about their historical and social background to learn the relationship between Shan people who live in the northern of the country and ‘Poy Sang Long’ tradition at Wat Pa Pao in order to find out the way to be successful in actualize this traditional ritual and also being a role for operating other events. The author found that Wat Pa Pao is an ancient temple that has been relate to Shan people so far. Moreover, this temple is thevenue to actualize ‘Poy Sang Long’ every year. For over two decades, Shan people, the worker in town and about around, is likely to attend the tradition. So, the event becomes bigger, have been very well actual and being annual festival for shan people since then. The research also found the definite management in organization as everyone know their own duty. A clear command isassigned to Shan people and local authority, temple committee. Hence, the event can run proper, harmonious, and conscience. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | ปอยส่างลอง | en_US |
dc.subject | องค์ความรู้ | en_US |
dc.title | องค์ความรู้ของการจัดการปอยส่างลองวัดป่าเป้า อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ | en_US |
dc.title.alternative | Knowledge of Poy Sang Long Tradition, Pa Pao Temple, Mueang District, Chiang Mai Province’s Management | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.classification.ddc | 390.0959362 | - |
thailis.controlvocab.thash | ปอยส่างลอง | - |
thailis.controlvocab.thash | การบวช | - |
thailis.controlvocab.thash | ไทใหญ่ -- พิธีกรรม | - |
thailis.controlvocab.thash | เชียงใหม่ -- ความเป็นอยู่และประเพณี | - |
thailis.manuscript.callnumber | ว/ภน 390.0959362 ช815อ | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | ปอยส่างลองของไทใหญ่ที่วัดป่าเป้า อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ เป็นงานประเพณีบรรพชาสามเณรของไทใหญ่ที่ยิ่งใหญ่และประสบความสำเร็จมีนักท่องเที่ยวตลอดจนไทใหญ่ทั้งในจังหวัดเชียงใหม่ และใกล้เคียงมาชุมนุมเป็นจำนวนมากสะท้อนให้เห็นถึงวิธีการจัดการงานประเพณีที่เข้มแข็งของภาคส่วนต่างๆ วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประวัติความเป็นมาของไทใหญ่และสังคมวัฒนธรรมของไทใหญ่ในภ าคเหนือของประเทศไทยตลอดจนภูมิหลังของไทใหญ่วัดป่าเป้าและปอยสางลองไทใหญ่ของวัดป่าเป้า อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อศึกษาให้ได้องค์ความรู้ของการจัดการปอยส่างลองไทใหญ่ของวัดป่าเป้าที่ประสบความสำเร็จเพื่อเป็นตัวอย่างและประโยชน์สำหรับการจัดการงานประเพณีในท้องถิ่นอื่นๆต่อไป ผลการศึกษาพบว่าวัดป่าเป้าเป็นวัดโบราณ ซึ่งมีประวัติความเป็นมาเกี่ยวข้องกับไทใหญ่ และ มีการจัดปอยส่างลองเป็นประจำทุกปีมาโดยตลอด มีไทใหญ่ซึ่งเป็นแรงงานต่างด้าวอาศัยอยู่ในจังหวัดเชียงใหม่ และใกล้เคียงเป็น อันมากได้เข้ามาร่วมงานประเพณีดังกล่าวจนกลายเป็ นงานประเพณีใหญ่ของไทใหญ่ที่จะมาชุมนุมสังสรรค์ พบปะญาติมิตรเป็นประจำทุกปี ซึ่งการจัดการปอยส่างลองก็ได้ดำเนินการไปอย่างเข้มแข็งตลอดมา จากการศึกษาได้วิเคราะห์ และถอดองค์ความรู้ของการจัดการปอยส่างลองที่เข้มแข็ง ดังกล่าวนี้ พบว่าการจัดการปอยส่างลองของวัดป่าเป้า จังหวัดเชียงใหม่จะมีการจำแนกกิจกรรมและหน้าที่ของฝ่ายต่างๆ อย่างเป็นรูปธรรมที่ชัดเจนอย่างเป็นระบบประกอบด้วย ฝ่ายวัด ประชาชน องค์กรภาคเอกชนและหน่วยงานท้องถิ่นในพื้นที่ โดยเฉพาะไทใหญ่ที่เข้ามามีส่วนร่วมในงานครั้งนี้จะดำเนินงานอย่างเข้มแข็งและมีความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันภายใต้ความสำนึกทางเชื้อชาติ | en_US |
Appears in Collections: | GRAD-Humanities and Social Sciences: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ABSTRACT.pdf | ABSTRACT | 169.54 kB | Adobe PDF | View/Open |
APPENDIX.pdf | APPENDIX | 1.7 MB | Adobe PDF | View/Open |
CHAPTER 1.pdf | CHAPTER 1 | 309.26 kB | Adobe PDF | View/Open |
CHAPTER 2.pdf | CHAPTER 2 | 963.28 kB | Adobe PDF | View/Open |
CHAPTER 3.pdf | CHAPTER 3 | 282.41 kB | Adobe PDF | View/Open |
CHAPTER 4.pdf | CHAPTER 4 | 2.17 MB | Adobe PDF | View/Open |
CHAPTER 5.pdf | CHAPTER 5 | 918.59 kB | Adobe PDF | View/Open |
CHAPTER 6.pdf | CHAPTER 6 | 169.97 kB | Adobe PDF | View/Open |
CONTENT.pdf | CONTENT | 160.41 kB | Adobe PDF | View/Open |
COVER.pdf | COVER | 614.33 kB | Adobe PDF | View/Open |
REFERENCE.pdf | REFERENCE | 257.98 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.