Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/45987
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุภาพ ชูพันธ์-
dc.contributor.authorศักดา เขื่อนรอบเขตen_US
dc.date.accessioned2018-04-04T08:30:31Z-
dc.date.available2018-04-04T08:30:31Z-
dc.date.issued2557-08-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/45987-
dc.description.abstractIn this work, zinc oxide (ZnO) nanostructures were prepared by direct precipitation method. First, the ZnO precursors were synthesized by reaction of 0.4 M of zinc nitrate hexahydrate (Zn(NO3)2•6H2O) with various ammonium hydrogen carbonate (NH4HCO3) concentration in the range of 0.1251 M. Then, the precursors were calcined at 400C during 1 h to obtain ZnO nanostructures. After that, field emission scanning electron microscopy (FE-SEM), X-ray diffractometry (XRD), UV-vis spectroscopy and Raman spectroscopy were used to investigate morphology, crystallinity, optical properties and structures properties of ZnO nanostructures, respectively. The morphology of ZnO nanostructures exhibited particle– and rod–like morphology with their mean diameter increased from 53 nm to 5 µm by increasing NH4HCO3 concentration. In addition, ZnO nanostructures obtained by using 0.25 M of NH4HCO3 had minimum mean diameter of 53  14 nm suggesting the optimum condition. XRD patterns of the precursors showed the (200), (020), (021), (002) and (510) peaks that corresponds to the diffraction patterns of zinc carbonate hydroxide (Zn5(OH)6(CO3)2; JCPDS, No. 19-1458). After calcinations, XRD patterns showed the (100), (002), (101) and (102) peaks, attributes to the diffraction pattern of ZnO (JCPDS, No. 89-1397). In addition, transmittance value was decreased by increasing NH4HCO3 concentration. However, ZnO nanostructures obtained by using 0.25 M of NH4HCO3 had maximum transmittance of 36.8%, which related to minimum mean diameter. Finally, ZnO nanostructures were used to fabricate dye-sensitized solar cells (DSSCs). It was found that the maximum efficiency of 0.71% was observed for ZnO nanostructures obtained by using 0.25 M of NH4HCO3.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectเซลล์แสงอาทิตย์en_US
dc.subjectโครงสร้างนาโนซิงก์ออกไซด์en_US
dc.subjectสีย้อมไวแสงen_US
dc.titleการสังเคราะห์และการหาลักษณะเฉพาะของโครงสร้างนาโนซิงก์ออกไซด์โดยวิธีตกตะกอนโดยตรงเพื่อประยุกต์เป็นเซลล์แสงอาทิตย์ชนิดสีย้อมไวแสงen_US
dc.title.alternativeSynthesis and Characterization of ZnO Nanostructures by Direct Precipitation Method for Dye-sensitized Solar Cell Applicationsen_US
dc.typeThesis
thailis.classification.ddc620.5-
thailis.controlvocab.thashโครงสร้างนาโน-
thailis.controlvocab.thashเซลล์แสงอาทิตย์ชนิดสีย้อมไวแสง-
thailis.controlvocab.thashเซลล์แสงอาทิตย์-
thailis.manuscript.callnumberว 620.5 ศ111ก-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractในงานวิจัยนี้ได้เตรียมซิงก์ออกไซด์โครงสร้างนาโนด้วยวิธีตกตะกอนโดยตรงโดย เริ่มจากสารตั้งต้นของซิงก์ออกไซด์ถูกสังเคราะห์โดยปฏิกิริยาระหว่าง Zinc nitrate hexahydrate (Zn(NO3)2•6H2O) ที่มีความเข้มข้น 0.4 โมลาร์ และ Ammonium hydrogen carbonate (NH4HCO3) ที่มีความเข้มข้นตั้งแต่ 0.125 ถึง 1 โมลาร์ จากนั้นสารตั้งต้นของซิงก์ออกไซด์ไปเผาที่อุณหภูมิ 400 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 1 ชั่วโมง เพื่อให้เป็นโครงสร้างนาโนซิงก์ออกไซด์หลังจากนั้นก็นำไปวิเคราะห์และหาสมบัติโดย กลองจุลทรรศนอิเล็กตรอนแบบสองกราด การเลี้ยวเบนของรังสีเอ็กซ์ อัลตราไวโอเลต-วิสิเบิลสเปกโทรสโกปี และรามานสเปกโทรสโกปี สำหรับสมบัติทางสัณฐาน สมบัติความเป็นผลึก สมบัติทางแสง และสมบัติของโครงสร้าง ตามลำดับ ผลการทดลองพบว่า สัณฐานของซิงก์ออกไซด์โครงสร้างนาโนมีลักษณะเป็นแบบอนุภาคและเป็นแบบแท่ง โดยมีค่าเฉลี่ยของเส้นผ่านศูนย์กลางเพิ่มขึ้นจาก 53 นาโนเมตร ถึง 5 ไมโครเมตร โดยการเพิ่มความเข้มข้นของ NH4HCO3 นอกจากนี้เงื่อนไขที่เหมาะสมของซิงก์ออกไซด์โครงสร้างนาโนที่ใช้ความเข้มข้นของ NH4HCO3 0.25 โมลาร์ มีค่าเฉลี่ยของเส้นผ่านศูนย์กลางน้อยที่สุดมีค่าเป็น 53  14 นาโนเมตร และจากผลการเลี้ยวเบนของรังสีเอ็กซ์ พบว่า สารตั้งต้นของซิงก์ออกไซด์ มีรูปแบบของการเลี้ยวเบนเป็น (200), (020), (021), (002) และ (510) คือ (Zn5(OH)6(CO3)2; JCPDS, No. 19-1458) และหลังจากเผา รูปแบบการเลี้ยวเบนเป็น (100), (002), (101) และ (102) ซึ่งเป็นรูปแบบการเลี้ยวเบนของซิงก์ออกไซด์ ZnO (JCPDS, No. 89-1397). นอกจากนี้ ค่าการทะลุผ่านของแสงมีค่าลดลงเมื่อเพิ่มความเข้มข้นของ NH4HCO3 อย่างไรก็ตาม ซิงก์ออกไซด์โครงสร้างนาโนที่ใช้ความเข้มข้นของ NH4HCO3 0.25 โมลาร์ มีค่าการทะลุผ่านของแสงมากที่สุด 36.8% ซึ่งสัมพันธ์กับขนาดของอนุภาคที่มีขนาดเล็กที่สุด สุดท้ายนำไปทดสอบประสิทธิภาพเซลล์แสงอาทิตย์ชนิดสีย้อมไวแสง พบว่า วัดค่าประสิทธิภาพได้ 0.71% ที่ความเข้มข้นของ NH4HCO3 เป็น 0.25 โมลาร์en_US
Appears in Collections:SCIENCE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.pdfABSTRACT296.15 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
APPENDIX.pdfAPPENDIX792.44 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 1.pdfCHAPTER 1555.44 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 2.pdfCHAPTER 2941.22 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 3.pdfCHAPTER 3478.24 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 4.pdfCHAPTER 41.2 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 5.pdfCHAPTER 5259.25 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CONTENT.pdfCONTENT411.26 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
COVER.pdfCOVER598.68 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
REFERENCE.pdfREFERENCE267.1 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.