Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/45982
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อภิรักษ์ เพียรมงคล | - |
dc.contributor.author | จิราภรณ์ เตชะยศ | en_US |
dc.date.accessioned | 2018-04-04T08:17:27Z | - |
dc.date.available | 2018-04-04T08:17:27Z | - |
dc.date.issued | 2557-01 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/45982 | - |
dc.description.abstract | The purpose of this research was to study the result of various factors that affect to the quality of modified purple rice ice cream which was added purple rice bran extract. The results showed that the chemical quality of purple rice solution obtained from purple dry rice per water in the ratio 1:2, 1:4 and 1:10 were increased the amount of protein , fat, total solids , ash and phenolic compounds, when the amount of water, which is as solvent, are decreased. Whereas the amount of anthocyanin is decreased. About the antioxidant properties, when water which is as solvent reduced, it tended to increase antioxidant properties. According to this study, the basic appropriate modified purple rice ice cream ratio composes of purple rice dry rice per water in the ratio 1:4 as 55%, coconut milk 30% and sugar 15%. About the study of stabilizer (gelatin, carageenans, xanthan gum and tapioca starch intake by 0.1, 0.2 and 0.3%), the results showed that adding gelatin at a concentration of 0.3% and 10% of purple rice bran oil extract by weight of mixtured ice cream are the most appropriate modified purple rice ice cream ratio, due to the best of physical properties, chemical properties, antioxidants activity and the sensory characteristics of ice cream. The study of the quality change in ice cream control set and ice cream with 10 % of purple rice bran oil extract, preserving in -10 and -20 oC for 0, 15, 30, 45, 60, 75 and 90 days, the result showed that the duration of storage significantly (p ≤ 0.05) to the chemical properties and the physical properties after the longer period preserving. Preserving in the temperature of -20.0 oC had better physical properties of ice cream than preserving in -10.0 oC. It is similar to the chemical properties; phenolic compounds and anthocyanin are more stabilized than preserving in the temperature of -10.0 oC. The ice cream control set and ice cream with 10 % of purple rice bran oil extract that were preserved for 90 days had the microbial quality according to standard of ice cream production as noticed from the Ministry of Public Health issue number 222 in 2011. Moreover the study of sensory characteristics of ice cream control set and ice cream with 10 % of purple rice bran oil extract that were preserved in the temperature of -10 and -20.0 oC for 0, 15, 30, 45, 60, 75 and 90 days showed that the duration of storage and preserving temperature did not significantly to all of the sensory characteristics assessment. The average score on the features; color, appearance, firmness, smoothness, sweetness, smell and taste of ice cream and also accepting score of the ice cream control set are in score range 6.08-6.83 (the least satisfaction). And ice cream with 10 % of purple rice bran oil extract is in score range 6.25-7.05 (the least satisfaction to the moderate satisfaction). Keywords: Ice cream, Purple rice, Stabilizer, Rice bran oil, Storage time. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | ข้าวก่ำ | en_US |
dc.subject | น้ำมันรำข้าว | en_US |
dc.title | ผลของการเติมน้ำมันรำข้าวก่ำต่อคุณสมบัติของไอศกรีมดัดแปลงข้าวก่ำ | en_US |
dc.title.alternative | Influence of Purple Rice Bran Oil on the Properties of Purple Rice Based Ice Cream | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.classification.ddc | 637.4 | - |
thailis.controlvocab.thash | ไอศกรีม | - |
thailis.controlvocab.thash | ข้าวก่ำ | - |
thailis.controlvocab.thash | น้ำมันรำข้าว | - |
thailis.manuscript.callnumber | ว 637.4 จ372ผ | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาผลของปัจจัยด้านต่างๆ ที่มีต่อคุณภาพของผลิตภัณฑ์ไอศกรีมดัดแปลงข้าวก่ำที่เติมน้ำมันรำข้าวก่ำสกัด ผลการศึกษาพบว่า น้ำข้าวก่ำที่เตรียมได้จาก 3 อัตราส่วน ข้าวต่อน้ำ คือ 1:2, 1:4 และ 1:10 สมบัติทางด้านเคมี เมื่อลดปริมาณของน้ำที่เป็นตัวทำละลายลงจะทำให้ ปริมาณโปรตีน ไขมัน ของแข็งทั้งหมด เถ้า และสารประกอบฟีนอล มีค่าสูงขึ้น ส่วนปริมาณของสารแอนโทไซยานินจะมีปริมาณลดลง ส่วนสมบัติในการต้านอนุมูลอิสระพบว่า เมื่อปริมาณน้ำซึ่งเป็นตัวทำละลายลดลง มีแนวโน้มให้ค่าสมบัติการต้านอนุมูลอิสระที่เพิ่มสูงขึ้น จากการศึกษาสูตรพื้นฐานการผลิตไอศกรีมดัดแปลงข้าวก่ำที่เหมาะสม ประกอบด้วย น้ำข้าวก่ำที่อัตราส่วน ข้าวต่อน้ำ 1:4 ปริมาณร้อยละ 55, กะทิร้อยละ 30 และน้ำตาลร้อยละ 15 และการศึกษาสารให้ความคงตัว (เจลาติน, คาราจีแนน, แซนแทนกัม และแป้งมันสำปะหลัง ปริมาณ ร้อยละ 0.1, 0.2 และ 0.3) พบว่าการเติมเจลาตินที่ระดับความเข้มข้นร้อยละ 0.3 และจากการศึกษาผลของการเติมน้ำมันรำข้าวก่ำในปริมาณ ร้อยละ 10 ต่อน้ำหนักส่วนผสมไอศกรีม เป็นปริมาณที่เหมาะสมกับไอศกรีมดัดแปลงข้าวก่ำมากที่สุด เนื่องจากมีค่าคุณสมบัติทางกายภาพ ทางเคมี กิจกรรมการต้านอนุมูลอิสระ และการยอมรับทางประสาทสัมผัสของไอศกรีมที่ดีที่สุด เมื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงคุณภาพของไอศกรีมชุดควบคุม และไอศกรีมที่เติมร้อยละ 10 ของน้ำมันรำข้าวก่ำสกัด ระหว่างการเก็บรักษาที่อุณหภูมิ -10 และ -20 องศาเซลเซียส เป็นระยะเวลา 0, 15, 30, 45, 60, 75 และ 90 วัน เมื่อระยะเวลาการเก็บรักษานานขึ้น พบว่าระยะเวลาการเก็บรักษามีผลต่อคุณสมบัติทางด้านเคมี และกายภาพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p≤ 0.05) โดยที่การเก็บรักษาที่อุณหภูมิ -20.0 องศาเซลเซียสทำให้มีคุณสมบัติทางกายภาพของไอศกรีมที่ดีกว่าการเก็บรักษาที่อุณหภูมิ -10 องศาเซลเซียส และคุณสมบัติทางด้านเคมีทำให้สารประกอบฟีนอล และแอนโทไซยานินมีความคงตัวสูงกว่าการเก็บรักษาที่อุณหภูมิ -10 องศาเซลเซียส ไอศกรีมชุดควบคุม แลไอศกรีมที่เติมน้ำมันรำข้าวก่ำร้อยละ 10 ที่เก็บรักษาไว้เป็นระยะเวลานาน 90 วัน มีคุณภาพทางด้านจุลินทรีย์เป็นไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์ไอศกรีมในประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 222 พ.ศ. 2554 และจากการประเมินคุณลักษณะทางด้านประสาทสัมผัสของไอศกรีมชุดควบคุม และไอศกรีมที่เติมน้ำมันรำข้าวก่ำร้อยละ 10 ระหว่างการเก็บรักษาที่อุณหภูมิ -10.0 และ -20.0 องศาเซลเซียส เป็นระยะเวลา 0, 15, 30, 45, 60, 75 และ 90 วัน พบว่าระยะเวลาการเก็บรักษาและอุณหภูมิการเก็บรักษาไม่มีผลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ต่อการประเมินคุณลักษณะทางประสาทสัมผัสในทุกคุณลักษณะ โดยคะแนนเฉลี่ยในคุณลักษณะ ด้านสี ลักษณะปรากฏ ความแน่นแข็ง ความเรียบเนียน รสหวาน กลิ่นรสไอศกรีม และคะแนนการยอมรับโดยรวมของไอศกรีมชุดควบคุม อยู่ในช่วง 6.08-6.83 (ชอบน้อยที่สุด) และไอศกรีมข้าวก่ำที่เติมน้ำมันรำข้าวร้อยละ 10 อยู่ในช่วง 6.25-7.05 (ชอบน้อยที่สุดถึงชอบปานกลา | en_US |
Appears in Collections: | AGRO: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ABSTRACT.pdf | ABSTRACT | 419.18 kB | Adobe PDF | View/Open |
APPENDIX.pdf | APPENDIX | 1.06 MB | Adobe PDF | View/Open |
CHAPTER 1.pdf | CHAPTER 1 | 296.78 kB | Adobe PDF | View/Open |
CHAPTER 2.pdf | CHAPTER 2 | 929 kB | Adobe PDF | View/Open |
CHAPTER 3.pdf | CHAPTER 3 | 325.06 kB | Adobe PDF | View/Open |
CHAPTER 4.pdf | CHAPTER 4 | 829.29 kB | Adobe PDF | View/Open |
CHAPTER 5.pdf | CHAPTER 5 | 135.97 kB | Adobe PDF | View/Open |
CONTENT.pdf | CONTENT | 279.26 kB | Adobe PDF | View/Open |
COVER.pdf | COVER | 714.7 kB | Adobe PDF | View/Open |
REFERENCE.pdf | REFERENCE | 675.48 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.