Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/45974
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนัทมน คงเจริญ-
dc.contributor.authorสุภาพร ราธิเสนen_US
dc.date.accessioned2018-03-28T03:12:46Z-
dc.date.available2018-03-28T03:12:46Z-
dc.date.issued2557-08-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/45974-
dc.description.abstractThis study have a title is “The Unfair Contract Terms in Standard Terms Contract : Study on Guaranty Contract of Financial Institute” have objective to study of principal of concept about theory of standard contract of financial institution, second the law of the unfair contract terms, and the last is problem and demerit of guarantee contract of financial institution to approve the law to fairness for the guarantor then the creditor claim to pay debt for most fairness in the social. The guarantee contract of financial institute done in a standard and form contract benefice to them. In fact, the guarantors have no economy or intellectual power to bargain the content of contract. The financial institutes have an otherhand in the conclusion of their contract. Theguarantors of sign anthelion contract. Even though the conditions and terms are unfair to them. Present, Thailand has Unfair Control Terms Act, and the Consumer Protection Act, 1979 are major tools to control and present those financial institutes to write up terms or provisions in standard contract to fake advantage of the other party. It is found that the solution to problem of the guarantee contracts of financial institute is lack of efficiency because the guarantee has to go to judicial process. Then the court tend to give interaction varyingly. At the end, the guarantee have no real and timely remedy. The author has the opinion that we should have preventive measures by providing sub legislation to establish a committee to control unfair terms in the guarantee contracts of financial institutes. The committee shell have to consider, the content of the contract and give its approval period to application of the contract. And the streamline decisions of courts on unfair contract terms, them should be a set of rules of court on way to hear cases of unfair contract in a cleaner manor. This shall build fairness between the two parties.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectสัญญาสำเร็จรูปen_US
dc.subjectสัญญาค้ำประกันen_US
dc.titleข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรมในสัญญาสำเร็จรูป: กรณีศึกษาสัญญาค้ำประกันของสถาบันการเงินen_US
dc.title.alternativeThe Unfair Contract Terms in Standard Terms Contract : Case Study on Guaranty Contract of Financial Instituteen_US
dc.typeThesis
thailis.classification.ddc346.02-
thailis.controlvocab.thashสัญญา-
thailis.controlvocab.thashสถาบันการเงิน-
thailis.manuscript.callnumberว 346.02 ส462ข-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractรายงานการวิจัยฉบับนี้เรื่อง “ข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรมในสัญญาสำเร็จรูป:กรณีศึกษาสัญญาค้ำประกันของสถาบันการเงิน” มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเกี่ยวกับแนวคิด พื้นฐาน ทฤษฎีความเป็นมาของข้อสัญญาสำเร็จรูปของสถาบันการเงินและกฎหมายว่าด้วยข้อสัญญาไม่เป็นธรรม และศึกษาปัญหาและข้อบกพร่องสัญญาค้ำประกันของสถาบันการเงินเพื่อหาแนวทางปรับปรุงบทบัญญัติข้อกฎหมายให้เกิดความเป็นธรรมแก่ผู้ค้ำประกันเมื่อถูกเจ้าหนี้เรียกให้ชำระหนี้ให้เกิดความเป็นธรรมมากที่สุด สัญญาค้ำประกันของสถาบันการเงินมีลักษณะสัญญาสำเร็จรูปส่วนใหญ่จะเอื้อประโยชน์ให้แก่สถาบันการเงินเป็นผู้ร่างเงื่อนไขหรือข้อกำหนดต่างๆในสัญญาฝ่ายเดียว โดยผู้ค้ำประกันอีกฝ่ายไม่มีอำนาจต่อรองแก้ไขข้อสัญญาด้วยเหตุผลทางเศรษฐกิจหรือความรู้ความสามารถ จึงทำให้สถาบันการเงินได้เปรียบในการเข้าทำสัญญา อย่างไรก็ตาม ผู้ค้ำประกันจำนวนมากยังตัดสินใจเข้าทำสัญญาภายใต้ภาวะจำยอมแม้เงื่อนไขนั้นจะไม่เป็นธรรมแก่ตนเอง ปัจจุบันมีบทบัญญัติกฎหมายตามพระราชบัญญัติว่าด้วยข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม พ.ศ. 2540และพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ.2522 เป็นหลักในการกำกับควบคุมและบังคับใช้ไม่ให้สถาบันการเงินต่าง ๆ กำหนดเงื่อนไขหรือข้อกำหนดในสัญญาสำเร็จรูปที่เอารัดเอาเปรียบคู่สัญญาจนเกินควร จากการศึกษาพบว่า การแก้ไขปัญหาสัญญาค้ำประกันของสถาบันการเงินที่ไม่เป็นธรรมในประเทศไทยยังไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร เนื่องจากผู้ค้ำประกันต้องเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมโดยใช้สิทธิฟ้องร้องต่อศาล โดยศาลจะเป็นผู้ตีความว่าเงื่อนไขหรือข้อกำหนดดังกล่าวเข้าลักษณะข้อสัญญาไม่เป็นธรรมหรือไม่ ซึ่งในการวินิจฉัยข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรมยังมีความเห็นหลากหลายแตกต่างกันและหลักการยังไม่ชัดเจน ทำให้ผู้ค้ำประกันไม่ได้รับการแก้ไขเยียวยาอย่างแท้จริงและทันท่วงที ผู้ศึกษาเห็นว่าควรมีการกำหนดมาตรการในเชิงป้องกัน โดยมีการบัญญัติกฎหมายลำดับรองเพื่อจัดตั้งองค์กรหรือคณะกรรมการในการควบคุมข้อสัญญาในสัญญาค้ำประกันของสถาบันการเงิน มีอำนาจหน้าที่พิจารณาสัญญาค้ำประกันสำเร็จรูปและให้ความเห็นชอบก่อนจะนำไปใช้กับคู่สัญญา และเพื่อให้ศาลตีความวินิจฉัยข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรมเป็นในแนวทางเดียวกัน ควรกำหนดข้อบังคับของศาลยุติธรรมเรื่องแนวทางการพิจารณาคดีข้อสัญญาไม่เป็นธรรมให้ชัดเจน ซึ่งจะช่วยสร้างความเป็นธรรมแก่คู่สัญญาอีกฝ่ายให้มากขึ้นen_US
Appears in Collections:LAW: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.pdfABSTRACT160.64 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
APPENDIX.pdfAPPENDIX3.3 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 1.pdfCHAPTER 1280.26 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 2.pdfCHAPTER 2466.44 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 3.pdfCHAPTER 3416.22 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 4.pdfCHAPTER 4297.44 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 5.pdfCHAPTER 5165.83 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CONTENT.pdfCONTENT141.46 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
COVER.pdfCOVER632.28 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
REFERENCE.pdfREFERENCE267.78 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.