Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/45968
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorทิพวรรณ ทั่งมั่งมี-
dc.contributor.authorพินัย วิลัยทองen_US
dc.date.accessioned2018-03-27T04:19:55Z-
dc.date.available2018-03-27T04:19:55Z-
dc.date.issued2557-08-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/45968-
dc.description.abstractAn objective of organizing a research paper is to study social context, history, culture, belief and ritual and also to study about problem of The Fabric elephant parade tradition to define guideline for conserving and disseminating The Fabric elephant parade tradition of Moh Lung, Lumpang. From the analysis, The Fabric elephant parade tradition is an ancient Moh Lung tradition that family is a major institution to transfer a belief from generation to generation. They made this tradition to express their sincere gratitude to elephants that people use them as vehicle and hauling teak. Parents and villagers need to instill conscience in children to preserve and disseminate The Fabric elephant parade tradition to be a long lasting continuation. Analysis of document and fieldwork revealed that The Fabric elephant parade tradition is an ancient Moh Lung tradition. According to legend one elephant plunge itself into a mire and mahout make a vow to god to help his elephant get out of the mire so he made a fabric elephant to express his gratitude to god and it’s continuing until present. The researcher proposed to organize a culture event to make people appreciate The Fabric elephant parade tradition and also publicize this tradition to other. Furthermore the researcher proposed a method to educate the youth to make a fabric elephant and instill conscience in youth to preserve and disseminate The Fabric elephant parade tradition to be long lived continuation.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectประเพณีแห่ช้างผ้าen_US
dc.titleการศึกษาประเพณีแห่ช้างผ้า ชุมชนเมาะหลวง อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง เพื่อการอนุรักษ์และสืบสานอย่างมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคมen_US
dc.title.alternativeA Study of the Fabric Elephant Parade Tradition in Mohluang Community, Mae Moh District, Lampang Province for Conservation by Participation of Civil Societyen_US
dc.typeThesis
thailis.classification.ddc390.09593-
thailis.controlvocab.thashประเพณีแห่ช้างผ้า-
thailis.controlvocab.thashพิธีทางศาสนาและพิธีกรรม -- แม่เมาะ (ลำปาง)-
thailis.controlvocab.thashการอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย-
thailis.controlvocab.thashลำปาง -- ความเป็นอยู่และประเพณี-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 390.09593 พ3511ก-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาประเพณีแห่ช้างผ้าในครั้งนี้ เพื่อศึกษาบริบททางสังคมประวัติความเป็นมา และวัฒนธรรม รวมถึงศึกษาคติความเชื่อ คุณค่ารูปแบบและพิธีกรรม ตลอดจนสภาพปัญหาของประเพณีแห่ช้างผ้า เพื่อเสนอรูปแบบและวิธีการจัดการอนุรักษ์และสืบสานประเพณีของชุมชนเมาะหลวง อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง อย่างมีส่วนร่วมในภาคประชาสังคม จากการศึกษาพบว่าเป็นประเพณีดั้งเดิมของชุมชน ที่สืบทอดความเชื่อจากบรรพบุรุษ เพื่อรำลึกถึงความผูกพันกตัญญูต่อช้างที่ใช้เป็นพาหนะและใช้งาน รวมถึงใช้ในประเพณีขอฝนของชุมชน ซึ่งก่อเกิดความสามัคคีของคนในชุมชน การอนุรักษ์สืบสานประเพณีดังกล่าวต้องอาศัยความร่วมมือของคนในชุมชนในการมีส่วนร่วมในการจัดรูปแบบการอนุรักษ์ รวมถึงปลุกจิตสำนึกให้กับเยาวชนรุ่นใหม่ให้หันกลับมามีส่วนร่วมนอกจากนี้ต้องมีการสนับสนุนจากภาคประชาสังคม เพื่อให้ประเพณีแห่ช้างผ้าทรงคุณค่าและอยู่คู่ชุมชนนี้ต่อไป จากการศึกษาในครั้งนี้นั้นผู้ศึกษาได้ทำการลงพื้นที่เพื่อเก็บข้อมูลทั้งภาคเอกสารและภาคสนามพบว่าประเพณีแห่ช้างผ้านี้นั้นเป็นประเพณีที่มีมาตั้งแต่ดั่งเดิมของชุมชนเมาะหลวง โดยเป็นประเพณีตามความเชื่อในตำนานที่สืบทอดเล่าขานกันมาในเรื่องของช้างเชือกหนึ่งที่ได้ตกลงไปในหล่มโคลนและได้บนบานต่อสิ่งศักดิ์เพื่อที่จะขอช่วยให้ช้างเชือกนั้นขึ้นมาจากหล่มโคลนได้ จนสำเร็จจึงต้องทำช้างผ้าไปถวายตามคำสัญญาที่ได้กล่าวเอาไว้ และได้สืบทอดติดต่อกันมาจนถึงปัจจุบัน ประกอบกับชาวไทใหญ่ที่ได้อพยพเพื่อทำสัมปทานไม้สักเข้ามาอยู่รวมกับคนในพื้นที่และได้แต่งงานกับคนในท้องถิ่น จนขยายเป็นชุมชนไทใหญ่ในที่สุดประเพณีจึงได้มีอัตตาลักษ์ในรูปแบบของวัฒนธรรมของชาวไทใหญ่ ประเพณีแห่ช้างได้สืบต่อมาจนถึงปัจจุบันและได้เกิดการอพยพหลังจากการไฟฟ้าฝ่ายผลิตได้เข้ามาเวรคืนพื้นที่เพื่อจะทำสัมปทานถ่านหิน ชุมชนเมาะหลวงจึงกระจายไปอยู่ในพื้นอื่นๆ ทำให้ประเพณีแห่ช้างผ้าได้ขาดช่วงในการสืบสาน เหลือเพียงกลุ่มคนผู้สูงอายุที่ยังร่วมกันสืบสานต่อเอาไว้ แต่ก็ยังขาดการเอาใจใส่จากหน่วยงานต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นคนในชุมชนเมาะหลวงเอง และทั้งภาครัฐและเอกชน ผู้ศึกษาได้เห็นถึงปัญหาจากการลงพื้นที่เก็บข้อมูลของประเพณีแห่ช้างผ้า จึงได้เสนอวิธีการในการอนุรักษ์สืบสานประเพณีแห่ช้างผ้าเอาไว้โดยการเสนอให้มีการจัดกิจกรรมทางด้านวัฒนธรรม (Event) เพื่อให้คนในชุมชนเมาะหลวงนั้นได้เห็นถึงคุณค่าของประเพณีแห่ช่างผ้าและยังเป็นการประชาสัมพันธ์ประเพณีนี้ออกไป ซึ่งจะทำให้คนในชุมชนเมาะหลวงได้หันมาช่วยกันอนุรักษ์สืบสานรักษาเอาไว้ และยังได้เสนอวิธีการให้ความรู้แก่เยาวชนในอำเภอแม่เมาะที่มีต่อประเพณีแห่ช้างผ้าในเชิงบูรณาการ โดยให้ช่างฝีมือท้องถิ่นที่ยังหลงเหลืออยู่ในการทำช้างผ้าเข้าไปให้ความรู้ถึงสถานศึกษาเพื่อให้เยาวชนได้ใกล้ชิดองค์ความรู้ ซึ่งผู้ศึกษาหวังเป็นอย่างยิ่งว่าการศึกษาในครั้งนี้นั้นจะเป็นอีกแนวทางหนึ่งที่จะสามารถทำให้ประเพณีแห่ช้างผ้านั้นไม่สูญหายไปจากชุมชนเมาะหลวง และคนในชุมชนจะได้รักษาหวงแหนประเพณีนี้ให้อยู่คู่กับชุมชนอำเภอแม่เมาะต่อไปen_US
Appears in Collections:GRAD-Humanities and Social Sciences: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.pdfABSTRACT326.05 kBAdobe PDFView/Open
APPENDIX.pdfAPPENDIX327.88 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 1.pdfCHAPTER 1277.3 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 2.pdfCHAPTER 21.49 MBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 3.pdfCHAPTER 3450.11 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 4.pdfCHAPTER 41.18 MBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 5.pdfCHAPTER 5749.43 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 6.pdfCHAPTER 6347.92 kBAdobe PDFView/Open
CONTENT.pdfCONTENT314.89 kBAdobe PDFView/Open
COVER.pdfCOVER623.93 kBAdobe PDFView/Open
REFERENCE.pdfREFERENCE321.76 kBAdobe PDFView/Open


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.