Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/45963
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดวงหทัย กาศวิบูลย์-
dc.contributor.authorนันทรัตน์ นวลมาen_US
dc.date.accessioned2018-03-27T03:53:42Z-
dc.date.available2018-03-27T03:53:42Z-
dc.date.issued2557-09-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/45963-
dc.description.abstractThe purpose of this study was to investigate the results of using problem-based learning provision in a mathematics classroom with the intent on promoting desirable characteristics of Thai children in ASEAN community. The target group was 39 students in MathayomSuksa 1/3 at the ChongfahSinseungwanichbumrung School, Chiang Mai Province. The material used to gather data were lesson plans using problem-based learning approach (Application 1), the student behavior observation forms, an analytical thinking test, teacher’s daily notes, the students’ notes regarding their group work, and student’s learning assessment forms. Qualitative and quantitative analysis methods used to analyse the data. For qualitative data, descriptive analysis was used. For quantitative data, a statistics descriptive analysis was used. All data was analysed based on four characteristics of Thai children. These four characteristics are as follows; 1) appreciating human equality, 2) participation in discussion and the sharing of knowledge, 3) analytical thinking and 4) self management and control. The findings showed that using problem-based learning in a mathematics classroom could promote desirable characteristics of Thai children in all 4 characteristics. The average score for “appreciating human equality” was 3.39 at a good level. The average score for “participation in discussion and the sharing of knowledge” was 3.35 at a good level. The average score for “analytical thinking” was 2.89 at a good level. And the average score for “self management and control” was 3.22 at a good level.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการจัดการเรียนรู้en_US
dc.subjectคณิตศาสตร์en_US
dc.subjectคุณลักษณะอันพึงประสงค์en_US
dc.titleการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานในชั้นเรียนคณิตศาสตร์เพื่อส่งเสริมคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของเด็กไทยในประชาคม อาเซียนen_US
dc.title.alternativeProblem-based Learning Provision in a Mathematics Classroom to Promote Desirable Characteristics of Thai Children in ASEAN Communityen_US
dc.typeThesis
thailis.classification.ddc51.7-
thailis.controlvocab.thashคณิตศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน-
thailis.controlvocab.thashการจัดการชั้นเรียน-
thailis.manuscript.callnumberว 510.7 น115ก-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยในครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานในชั้นเรียนคณิตศาสตร์เพื่อส่งเสริมคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของเด็กไทยในประชาคมอาเซียน กลุ่มเป้าหมาย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/3 โรงเรียนช่องฟ้าซินเซิงวาณิชบำรุง จำนวน 39 คน ซึ่งได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ใช้ปัญหาเป็นฐานเรื่อง การประยุกต์ 1 แบบวัดการคิดวิเคราะห์ เรื่องการประยุกต์ 1 แบบสังเกตพฤติกรรมนักเรียนแบบบันทึกหลังการสอนของครู แบบบันทึกการเรียนรู้ของนักเรียน แบบบันทึกการทำงานกลุ่มของนักเรียน และแบบประเมินการเรียนรู้ของนักเรียนการวิเคราะห์ข้อมูลแบ่งเป็นข้อมูลเชิงคุณภาพ ใช้การวิเคราะห์เชิงพรรณนา และข้อมูลเชิงปริมาณใช้สถิติพรรณนา โดยจะแบ่งประเด็นในการวิเคราะห์เป็น 4 คุณลักษณะ คือ 1) การเห็นคุณค่าความเป็นมนุษย์เท่าเทียมกัน 2) การมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 3) การมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผล มีวิธีคิดอย่างถูกต้องและ 4) การมีความสามารถในการจัดการและควบคุมตนเอง ผลการศึกษาพบว่า การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานในชั้นเรียนคณิตศาสตร์สามารถส่งเสริมคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของเด็กไทยในประชาคมอาเซียนทั้ง 4 ด้าน ด้านการเห็นคุณค่าความเป็นมนุษย์เท่าเทียมกันมีคะแนนเฉลี่ย เท่ากับ 3.39 อยู่ในระดับดีด้านการมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นและแลกเปลี่ยนเรียนรู้มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 3.35 อยู่ในระดับดี ด้านการมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผล มีวิธีคิดอย่างถูกต้องมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ2.89 อยู่ในเกณฑ์ดี และด้านความสามารถในการจัดการและควบคุมตนเองมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 3.22 อยู่ในระดับดีen_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.pdfABSTRACT219.63 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
APPENDIX 1.pdfAPPENDIX1366.26 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
APPENDIX 2.pdfAPPENDIX21.32 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy
APPENDIX 3.pdfAPPENDIX3297.67 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
APPENDIX 4.pdfAPPENDIX4725.71 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 1.pdfCHAPTER 1316.4 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 2.pdfCHAPTER 2722.18 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 3.pdfCHAPTER 3454.04 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 4.pdfCHAPTER 41.38 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 5.pdfCHAPTER 5356.94 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CONTENT.pdfCONTENT440.62 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
COVER.pdfCOVER825.69 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
REFERENCE.pdfREFERENCE538.69 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.