Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/45945
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเกียรติสุดา ศรีสุข-
dc.contributor.advisorอนุรักษ์ ปัญญานุวัตน์-
dc.contributor.advisorสมศักดิ์ ภู่วิภาดาวรรธน์-
dc.contributor.authorAnan Kaewtatipen_US
dc.contributor.authorอนันต์ แก้วตาติ๊บen_US
dc.date.accessioned2018-03-27T02:48:07Z-
dc.date.available2018-03-27T02:48:07Z-
dc.date.issued2014-07-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/45945-
dc.description.abstractThe objective of this research is threefold which are 1) to develop the components and indicators for evaluating the internal quality assurance of special education school,2) to develop a model and manual for evaluating the internal quality assurance, and 3)to test the trial use of the model and the manual for evaluating the developed internal quality assurance. The research implementation is divided into three steps as the followings. Step 1 develops components and indicators for evaluating internal quality assurance of special education school through the synthesis of documents to select the components, ask for opinion on the indicators from administrators and personnel of special education school (a total of 105 people). The tool for the research is composed of (1)the record form on the synthesis of components and indicators,(2)the questionnaire on indicators for implementing the internal quality assurance, and (3) the questionnaire on the propriety of the indicators for evaluating internal quality assurance. The statistics used for analysis are frequencies, means, standard deviations, Correlation Analysis, Exploratory Factor Analysis, and Confirmatory Factor Analysis. Step2 develops the model and manual for evaluating the internal quality assurance through the syntheses of documents gathered by brainstorming of administrators and personnel of special education school (a total of seven people).Step 2 also checks the propriety of the school context and the usability of the model for evaluating the internal quality assurance from the administrators and experts (a total of 10 people). The tool used for this research are (1) the record form on brainstorming, (2) the evaluation form on attitude towards the evaluation model, (3) the evaluation form on propriety and feasibility of indicators, and (4) the evaluation form on propriety and feasibility for launching the model to use. The statistics used are means and standard deviations.Step 3 attempts to study the results of the trial use of the model and the manual for evaluating the internal quality assurance with one special education school. There are six evaluators. The tools used are (1) the check form of document evidence of indicators for internal quality assurance, (2) the record form on observing the internal quality assurance,(3) the evaluation form on satisfaction, and(4) the evaluation form on the quality of the model and the manual for evaluating the internal quality assurance. The statistics used are frequency distributions, means, and standard deviations. The research findings show the following results. 1. The component and indicators for internal quality assurance of special education school have three main components which are component (1) preparation before evaluation, (2) implementation to evaluate, and (3) reporting of the results of evaluation. There are 10 indicators involved in these components. 2. The evaluation model for internal quality assurance of special education school is composed of the objectives of evaluation of the factors that the evaluators need to evaluate. There are also indicators andcriteria for evaluating the tools for evaluation as well as set duration of evaluation. 3. The results of the trial use of developed model and manual for evaluating internal quality assurance of special education school show that the model and developed manual can be used by the administrators and personnel of special education school to evaluate the internal quality assurance in the school. The evaluation results on the quality of the model and the manual of evaluation on the usability, feasibility, propriety and accuracy are in the highest level.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectSpecial educationen_US
dc.subjectQuality Assuranceen_US
dc.titleรูปแบบการประเมินระบบการประกันคุณภาพภายในของโรงเรียนศึกษาพิเศษen_US
dc.title.alternativeThe Internal Quality Assurance Evaluation Model of Special Education Schoolsen_US
dc.typeThesis
thailis.classification.ddc658.56-
thailis.controlvocab.thashQuality Assurance in Education-
thailis.controlvocab.thashSpecial education-
thailis.manuscript.callnumberTh 658.56 A532I-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ที่ สำคัญ 3 ประการ คือ 1)เพื่อพัฒนาองค์ประกอบและตัวบ่งชี้ในการประเมินการประกันคุณภาพภายในของโรงเรียนศึกษาพิเศษ 2) เพื่อพัฒนารูปแบบและคู่มือการประเมินการประกันคุณภาพภายใน และ 3) เพื่อทดลองใช้รูปแบบและคู่มือการประเมินการประกันคุณภาพภายในที่พัฒนาได้โดยวิธีดำเนินการวิจัยแบ่งออกเป็น 3 ขั้นตอน คือ ขั้นที่ 1 พัฒนาองค์ประกอบและตัวบ่งชี้ในการประเมินการประกันคุณภาพภายในของโรงเรียนศึกษาพิเศษ โดยการสังเคราะห์เอกสารเพื่อคัดเลือกองค์ประกอบ การสอบถามความคิดเห็นของตัวบ่งชี้จากผู้บริหารและบุคลากรโรงเรียนศึกษาพิเศษ จำนวน 105 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย1) แบบบันทึกการสังเคราะห์องค์ประกอบและตัวบ่งชี้ 2) แบบสอบถามตัวบ่งชี้การดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน และ 3) แบบสอบถามความเหมาะสมของตัวบ่งชี้ในการประเมินการประกันคุณภาพภายใน สถิติที่ใช้ประกอบด้วยความถี่ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สหสัมพันธ์ น้ำหนักองค์ประกอบเชิงสำรวจ และน้ำหนักองค์ประกอบเชิงยืนยัน ขั้นที่ 2พัฒนารูปแบบและคู่มือการประเมินการประกันคุณภาพภายใน โดยการสังเคราะห์จากเอกสารการระดมสมองจากผู้บริหารและบุคลากรโรงเรียนศึกษาพิเศษ จำนวน 7 คน และการตรวจสอบความเหมาะสมกับบริบทของโรงเรียนและการนำไปใช้ ของรูปแบบการประเมินการประกันคุณภาพภายใน จากผู้บริหารและผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 10 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย1) แบบบันทึกการระดมสมอง 2) แบบประเมินความคิดเห็นที่มีต่อรูปแบบการประเมิน3)แบบประเมินความเหมาะสมความเป็นไปได้ของตัวบ่งชี้ และ 4) แบบประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ในการนำรูปแบบไปใช้สถิติที่ใช้ประกอบด้วย ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และขั้นที่ 3 ขั้นศึกษาผลการทดลองใช้รูปแบบและคู่มือการประเมินการประกันคุณภาพภายในกับโรงเรียนศึกษาพิเศษจำนวน 1แห่งโดยมีผู้ประเมิน จำนวน 6 คน เครื่องมือที่ใช้ประกอบด้วย1) แบบตรวจสอบเอกสารหลักฐานของตัวบ่งชี้การประกันคุณภาพภายใน 2)แบบบันทึกการสังเกตการณ์การประกันคุณภาพภายใน 3) แบบประเมินความพึงพอใจ 4) แบบประเมินคุณภาพของรูปแบบและคู่มือการประเมินการประกันคุณภาพภายใน สถิติที่ใช้ประกอบด้วยความถี่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานผลการวิจัย พบว่า 1. องค์ประกอบและตัวบ่งชี้ในการประกันคุณภาพภายในของโรงเรียนศึกษาพิเศษพบว่ามี3 องค์ประกอบคือ องค์ประกอบที่1การเตรียมความพร้อมก่อนการประเมิน2)การดำเนินการประเมิน และ 3)การรายงานผลการประเมิน โดยมีตัวบ่งชี้ทั้งสิ้นรวม 10 ตัวบ่งชี้ 2. รูปแบบการประเมินการประกันคุณภาพภายในของโรงเรียนศึกษาพิเศษประกอบด้วยวัตถุประสงค์การประเมินสิ่งที่มุ่งประเมินผู้ประเมิน ตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินเครื่องมือในการประเมินและระยะเวลาในการประเมิน 3. ผลการทดลองใช้รูปแบบและคู่มือการประเมินการประกันคุณภาพภายในของโรงเรียนศึกษาพิเศษที่ได้พัฒนา พบว่า รูปแบบและคู่มือที่พัฒนาขึ้น ผู้บริหารและบุคลากรโรงเรียนศึกษาพิเศษสามารถนำไปใช้ในการประเมินการประกันคุณภาพภายในของโรงเรียนได้ โดยผลการประเมินคุณภาพของรูปแบบและคู่มือการประเมิน ในด้านการใช้ประโยชน์ ความเป็นไปได้ ความเหมาะสม และความถูกต้อง อยู่ในระดับมากที่สุดen_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.pdfABSTRACT240.94 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
APPENDIX.pdfAPPENDIX1.9 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 1.pdfCHAPTER 1387.02 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 2.pdfCHAPTER 2738.54 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 3.pdfCHAPTER 3527.99 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 4.pdfCHAPTER 4623.46 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 5.pdfCHAPTER 5207.74 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CONTENT.pdfCONTENT1.06 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy
COVER.pdfCOVER1.21 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy
REFERENCE.pdfREFERENCE198.83 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.