Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/45905
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเขมกร ไชยประสิทธิ์-
dc.contributor.authorมาลินี ตันติเสนีย์พงศ์en_US
dc.date.accessioned2018-03-26T04:07:04Z-
dc.date.available2018-03-26T04:07:04Z-
dc.date.issued2557-09-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/45905-
dc.description.abstractThe independent study entitled, “Employee Engagement Towards Faculty of Business Administration, Chiang Mai University”, aimed at assessing level of employee engagement at the Faculty of Business Administration, Chiang Mai University and exploring factors affecting employee engagement. Samples of this study were specified to 90 employees of the faculty. Questionnaires were used to collect data and data analysis was conducted by the use of descriptive statistics, consisting of frequency, percentage and means, and linear regression. The findings showed that most respondents were married female, aged 31-40 years old, graduated with Master’s degree, and had working period between 11-15 years. Their monthly earning included salary and position allowance was 15,001-20,000 Baht. Most of them were permanent employee of the university, working in the line of knowledge worker in the position of lecturer and in the line of technical worker under the office of secretariat, Faculty of Business Administration in the technical and professional positions of finance and accounting officer, librarian, operations officer, and computer technical officer in the educational services and students development affairs. The results of the study presented that the employees of the Faculty of Business Administration ranked their organizational engagement at ‘Engaged’ level. In an overview, their opinions towards factors affecting employee engagement namely company, job, human resource development, and leadership were ranked at high level. Hereafter were shown details in each factor. In company factor, the following components affected employees’ opinion towards employee engagement at high level : establishing appropriate and safe working environment, encouraging employees to seek for knowledge and innovate something new for the faculty, and offering proper communication channels for the employees, in orderly. In job factor, the following components affected employees’ opinion towards employee engagement at high level: preparing adequate numbers of devices and equipment to support employee’s performance, assigning tasks appropriately to employee’s knowledge and skills, and allowing employees to participate in organizational decision-making, especially in an agenda related to their responsibilities, in orderly. In human resource development factor, the following components affected employees’ opinion towards employee engagement at high level: paying attention to employee’s health and sanitation adequately, convincing employees to have the sense of working security, and promoting and arranging special activities to strengthening good relationship among employees, in orderly. In leadership factor, the following component affected employees’ opinion towards employee engagement at high level: supervisor who had wide vision and was able to convey it to subordinates and supervisor who reasonably and fairly listened to subordinates’ opinions with respect, in orderly. Factors affecting level of employee engagement were found in the positive relation to the employee engagement at R = 0.817. Factors of company, job, human resource development and leadership shall predict the employee engagement at 66.8%. Factors of company and leadership shall predict the employee engagement in an overview at the statistical significance of 0.05. However, in an overview, factors of job and human resource development did not affect to level of employee engagement.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectความผูกพันต่อองค์การen_US
dc.subjectบุคลากรen_US
dc.subjectคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeEmployee Engagement Towards Faculty of Business Administration, Chiang Mai Universityen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc658.314-
thailis.controlvocab.thashมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. คณะบริหารธุรกิจ-
thailis.controlvocab.thashความผูกพันต่อองค์การ-
thailis.controlvocab.thashความภักดีของลูกจ้าง-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 658.314 ม273ค-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระเรื่อง ความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความผูกพันต่อองค์การของบุคลากร คณะบริหารธุรกิจมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรคณะบริหารธุรกิจมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยทำการศึกษาจากบุคลากร จำนวน 90 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ (Frequency) ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Means) และสมการถดถอย (Linear Regression) ผลการศึกษาพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุ 31-40 ปีสถานภาพสมรส การศึกษาระดับปริญญาโท มีระยะเวลาในการปฏิบัติงานระหว่าง 11-15 ปี ได้รับเงินเดือนรวมค่าตำแหน่งเฉลี่ยต่อเดือนอยู่ในอัตราระหว่าง 15,001 - 20,000 บาท ส่วนใหญ่เป็นพนักงานมหาวิทยาลัยประจำ ประเภทสายงานวิชาการตำแหน่งอาจารย์ และประเภทสายงานปฏิบัติการสังกัดสำนักเลขานุการคณะบริหารธุรกิจ ส่วนใหญ่คือกลุ่มปฏิบัติการและวิชาชีพ ได้แก่ นักการเงินและบัญชี บรรณารักษ์ พนักงานปฏิบัติงาน นักวิชาการคอมพิวเตอร์ ซึ่งปฏิบัติงาน ในหน่วยงานบริการการศึกษาและพัฒนาคุณภาพนักศึกษา ผลการศึกษาพบว่าบุคลากรคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มีความผูกพันต่อองค์การในระดับผูกพัน (Engaged) โดยบุคลากรมีความคิดเห็นต่อปัจจัยที่มีผลต่อการสร้าง ความผูกพันต่อองค์การในด้านองค์การ ด้านงาน ด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และด้านภาวะผู้นำ ในภาพรวมอยู่ในระดับเห็นด้วยมาก และในแต่ละด้านมีรายละเอียดดังนี้ ด้านองค์การ บุคลากรมีความคิดเห็นต่อองค์ประกอบความผูกพันต่อองค์การ ในระดับเห็นด้วยมาก คือ คณะฯ มีการสร้างสภาพแวดล้อมในที่ทำงานอย่างเหมาะสมและปลอดภัยให้กับบุคลากร รองลงมาคือ คณะฯ มีการส่งเสริมให้พนักงานได้เรียนรู้และสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ ให้เกิดขึ้นในองค์การ และคณะฯ จัดให้มีช่องทางเพื่อสื่อสารกับบุคลากรได้อย่างเหมาะสม ตามลำดับ ด้านงาน บุคลากรมีความคิดเห็นต่อองค์ประกอบความผูกพันต่อองค์การ ในระดับ เห็นด้วยมาก คือ คณะฯ มีการจัดเตรียมอุปกรณ์ เครื่องมือที่สนับสนุนการทำงานของบุคลากรอย่างเพียงพอ รองลงมาคือ คณะฯ มีการมอบหมายงานที่เหมาะสมกับความรู้ความสามารถของบุคลากร และคณะฯ มีการให้บุคลากรมีส่วนร่วมในการตัดสินใจในงานที่เกี่ยวข้องกับตนเอง ตามลำดับ ด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ บุคลากรมีความคิดเห็นต่อองค์ประกอบความผูกพัน ต่อองค์การ ในระดับเห็นด้วยมาก คือ คณะฯ มีการดูแลเรื่องสุขภาพอนามัย ของบุคลากรอย่างเพียงพอ รองลงมาคือ คณะฯ สามารถทำให้บุคลากรรู้สึกว่ามีความมั่นคงในการทำงาน และคณะฯ มีการส่งเสริมและจัดทำกิจกรรมการสร้างความสัมพันธภาพที่ดีระหว่างบุคลากร ตามลำดับ ด้านภาวะผู้นำ บุคลากรมีความคิดเห็นต่อองค์ประกอบความผูกพันต่อองค์การ ในระดับเห็นด้วยมาก คือ ผู้บังคับบัญชามีวิสัยทัศน์ที่กว้างและนำมาถ่ายทอดให้บุคลากร ได้รับทราบ รองลงมาคือ ผู้บังคับบัญชามีการรับฟังความคิดเห็นของบุคลากรทุกคนอย่างมีเหตุผลและเป็นธรรม ปัจจัยที่มีผลต่อระดับความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรในด้านต่างๆ มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับความผูกพันต่อองค์การ โดยมีค่าความสัมพันธ์ (R) เท่ากับ 0.817 และปัจจัยด้านองค์การ ด้านงาน ด้านการพัฒนาบุคลากร และด้านภาวะผู้นำ สามารถพยากรณ์ความผูกพันต่อองค์การได้ร้อยละ 66.8 และปัจจัยด้านองค์การและด้านภาวะผู้นำ เป็นปัจจัยที่สามารถใช้พยากรณ์ค่าความผูกพันในภาพรวมต่อองค์การอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 แต่ด้านงานและด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ไม่มีผลต่อระดับความผูกพันในภาพรวมen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.pdfABSTRACT256.69 kBAdobe PDFView/Open
APPENDIX.pdfAPPENDIX414.34 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 1.pdfCHAPTER 1285.01 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 2.pdfCHAPTER 2268.76 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 3.pdfCHAPTER 3294.21 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 4.pdfCHAPTER 4899.99 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 5.pdfCHAPTER 5584.84 kBAdobe PDFView/Open
CONTENT.pdfCONTENT191.66 kBAdobe PDFView/Open
COVER.pdfCOVER781.46 kBAdobe PDFView/Open
REFERENCE.pdfREFERENCE244.53 kBAdobe PDFView/Open


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.