Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/45862
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธเนศ ศรีวิชัยลำพันธ์-
dc.contributor.advisorนิสิต พันธมิตร-
dc.contributor.authorอนุรักษ์ นรษีen_US
dc.date.accessioned2018-03-13T04:47:33Z-
dc.date.available2018-03-13T04:47:33Z-
dc.date.issued2557-09-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/45862-
dc.description.abstractThe study of Survival of Community Economy in Globalization: A Case Study of Baitong KlongKrajong Group, Sawankhaloke District, Sukhothai Province aims to study the general conditions of Baitong KlongKrajong Group’s members and also their group establishment. The main focus of this research is to study their systems of organization, activities management as well as problems and obstacles concerning the effects from Globalization. The research is a qualitative study in which the tools are questionnaires and interviews that were given to 70 people including the members of Baitong KlongKrajong Group as well as the farmers who grow banana leaves. From the study, it shows that the majority of people who grow banana trees are married female farmers aged around 51 years old and older. Most of them finished school at primary school level and have been earning a living by being farmers. When looking at their family, it is found that the majority of each family consists5 family members in which each has owned the land for their cultivation up to 2-4 acres in average, almost around 2 acres are used to grow banana trees. The average expense per month for grow banana trees is around 1,000 baht in which they can harvest the leaves around 8 times a month, 100 kgs. in each time. In term of pricing, the leaves are sold at variable pricing depending on each season. However, despite having the savings in majority, but many groups have to go through the debts as well. In establishing banana leaves group, it is found that the majority of members in the Baitong KlongKrajong group also established the agricultural cooperative of KlongKrajong district. Most of them used to be members of this cooperative. Moreover, the majority of the group members agree that the cooperative holds on to the concept of Sufficiency Economy proposed by the King. In term of management, it is also found that the majority of the group members participates in deciding the directions they will go to for every activity they have. One good thing they all agree of establishing this group is that they can propose the higher price in selling banana leaves but it still depends on the season. The study shows the group’s problems and obstacles that when it comes to dry season, there is no product to be harvested. Apart from that, one big problem is the inequality income. Each member earns differently, causing the unsatisfactory among the group members. The public sector never gives a hand to help guarantee the quality of the plant or find the way to solve the problem of the agricultural pests, causing certain damages to the products in which it affects the selling price in each season. For the additional suggestions, the farmers want the selling price to be increased and they also want to export the banana leaves more than they can do now. In management, they want the group to rethink and redo the whole system of management in order to create the stability and harmony in their groupen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectเศรษฐกิจชุมชนen_US
dc.subjectกระแสโลกาภิวัฒน์en_US
dc.titleความอยู่รอดของเศรษฐกิจชุมชนภายใต้กระแสโลกาภิวัฒน์: กรณีศึกษากลุ่มใบตองคลองกระจง อำเภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทัยen_US
dc.title.alternativeSurvival of CommunityEconomy in Globalization: A Case Study of BaitongKlongKrajong Group, Sawankhaloke District, Sukhothai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)-
thailis.classification.ddc330.9593-
thailis.controlvocab.thashเศรษฐกิจพอเพียง -- สวรรคโลก (สุโขทัย)-
thailis.controlvocab.thashโลกาภิวัตน์-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 330.9593 อ154ค-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาเรื่อง ความอยู่รอดของเศรษฐกิจชุมชนภายใต้กระแสโลกาภิวัฒน์: กรณีศึกษากลุ่มใบตองคลองกระจง อำเภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทัยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพทั่วไปของสมาชิกและแนวทางการจัดตั้งกลุ่มใบตองคลองกระจง ศึกษาแนวทางการบริหารในการจัดการและการดำเนินกิจกรรมของกลุ่มใบตองคลองกระจงภายใต้กระแสโลกาภิวัฒน์และศึกษาปัญหาและอุปสรรคของกลุ่มใบตองคลองกระจงเป็นการศึกษาเชิงคุณภาพ เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ แบบสอบถาม และการสัมภาษณ์ และกลุ่มประชากรเป้าหมายในการศึกษาครั้งนี้คือ เกษตรกรผู้ปลูกใบตองในตำบลคลองกระจง จำนวน 70 คน ผลการศึกษาพบว่ากลุ่มประชากรที่ทำสวนใบตองส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุ 51 ปีขึ้นไป ซึ่งมีสถานภาพสมรส มีระดับการศึกษาชั้นประถมศึกษาและส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกร อีกทั้งกลุ่มเกษตรกรส่วนใหญ่มีจำนวนสมาชิกในครอบครัวจำนวน 5 คน และมีที่ดินสำหรับทำการเกษตรเป็นที่ดินของตนเองและส่วนใหญ่มีเนื้อที่ทำการเกษตร5 ไร่ และ 10 ไร่ในจำนวนที่เท่ากัน และเป็นที่ดินสำหรับทำสวนใบตองจำนวน 4 ไร่ มีค่าใช้จ่ายในการทำสวนใบตองเฉลี่ยต่อเดือน 1,000บาท สำหรับการเก็บเกี่ยวผลผลิต(ใบตอง)ส่วนใหญ่ 8 ครั้งต่อเดือน ส่วนใหญ่ปริมาณผลผลิตที่ได้ 100 กิโลกรัมต่อครั้ง และราคาผลผลิต(ใบตอง)ในแต่ละฤดูมีความแตกต่างกัน กลุ่มเกษตรกรส่วนใหญ่มีหนี้สิน แม้กระนั้นส่วนใหญ่มีเงินออมด้วยเช่นกัน สำหรับการจัดตั้งกลุ่มใบตอง พบว่า กลุ่มเกษตรกรส่วนใหญ่เป็นผู้ร่วมก่อตั้งสหกรณ์การเกษตรตำบลคลองกระจง และส่วนใหญ่เคยเป็นสมาชิกสหกรณ์การเกษตรตำบลคลองกระจง ด้วยเช่นกัน กลุ่มเกษตรกรส่วนใหญ่มีความคิดเห็นว่าสหกรณ์การเกษตรตำบลคลองกระจงมีข้อดี สำหรับการก่อตั้งกลุ่มใบตองคลองกระจงมีแนวคิดมาจาก หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง แนวทางการบริหารจัดการกลุ่มใบตอง พบว่า เกษตรกรส่วนใหญ่เป็นสมาชิกกลุ่มใบตอง และเกษตรกรส่วนใหญ่มีส่วนร่วมในการตัดสินใจการดำเนินกิจกรรมของกลุ่มใบตอง ซึ่งเกษตรกรส่วนใหญ่มีความเห็นว่ากลุ่มใบตองคลองกระจงมีข้อดี คือ ทำให้ราคาของใบตองสูงขึ้น ส่วนข้อเสีย คือ ราคาใบตองไม่คงที่ในบางฤดู สำหรับเกี่ยวกับปัญหาและอุปสรรคของกลุ่มใบตองคลองกระจง พบว่า เกษตรกรส่วนใหญ่มีความเห็นว่าปัญหาและอุปสรรคของการดำเนินงานของกลุ่มใบตองคลองกระจง คือ ในฤดูแล้งไม่มียอดใบตองให้สอย และสมาชิกในกลุ่มแต่ละคนได้รับส่วนแบ่งในการส่งออกใบตองมากน้อยไม่เท่ากัน เกิดความไม่พอใจกัน และภาครัฐไม่ให้ความร่วมมือในการออกใบรับรองพืชและตรวจหาสาเหตุของแมลงให้เกษตรกร และใบตองพรุน หนอนกินยอดใบตอง และราคาไม่คงที่ ในแต่ละฤดู ราคาไม่เท่ากัน ส่วนข้อเสนอแนะเพิ่มเติม พบว่า เกษตรกรอยากให้ราคาใบตองเพิ่มขึ้นมากกว่านี้ และอยากให้ใบตองส่งออกได้มากกว่านี้ และอยากให้มีการจัดสรรส่วนแบ่งในการส่งออกใบตองกันใหม่ และอยากให้กลุ่มใบตองมีความมั่นคง และมีความสามัคคีกันen_US
Appears in Collections:SOC: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.pdf ABSTRACT245.34 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
APPENDIX.pdf APPENDIX250.03 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 1.pdf CHAPTER 1243.61 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 2.pdfCHAPTER 2338.22 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 3.pdf CHAPTER 3228.06 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 4.pdfCHAPTER 4399.87 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 5.pdf CHAPTER 5250.11 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CONTENT.pdfCONTENT238.25 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
REFERENCE.pdfREFERENCE276.5 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
COVER.pdfCOVER773.89 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.