Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/45860
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอรพิณ สันติธีรากุล-
dc.contributor.authorณัฐชานันท์ พิสุทธิโยธินen_US
dc.date.accessioned2018-03-13T04:31:20Z-
dc.date.available2018-03-13T04:31:20Z-
dc.date.issued2557-09-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/45860-
dc.description.abstractThe objectives of this independent study were to study motivation of employees at Sinsab Krungthep Panit Co. Ltd. and the relation between motivation and personal factors. The population was 285 employees. Questionnaire was used to collect data and the data was then analyzed using frequency, percentage, mean, t-test, and F-test. The results of the study showed that most employees were female, married, with Bachelor’s degree. Their monthly income was 45,001 or more. Their work period was 10 years or more. Their overall motivation and their attitude towards motivation factors were both at the high level with responsibility ranked at the highest sub-factor. The other sub-factors were success, nature of work, respect, and progress, respectively. The employees’ attitude towards supporting factors was at the high level, with relationship with their supervisor and co-workers ranked as the highest sub-factor. The other sub-factors were position, work environment, organization’s administrative policy, stability, governance, and income/benefits, respectively. For the analysis of the relation between motivation and personal factors, it was found that employees with different age showed different attitudes in overall motivation, in terms of success, and in supporting factors in terms of organization’s administrative policy, governance, relationship with their supervisor and co-workers, work environment, income/benefits, and stability. Employees with different education showed different attitudes in supporting factors in terms of stability. Employees with different income showed different attitudes in supporting factors in terms of governance, and relationship with their supervisor and co-workers. Employees with different work period showed different attitudes in overall motivation factors in terms of respect and progress, and in supporting factors in terms of relationship with their supervisor and co-workers. However, employees with different gender and different marital status showed no different attitudes in overall motivation factors and supporting factors.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectพนักงานบริษัทen_US
dc.subjectแรงจูงใจในการทำงานen_US
dc.titleแรงจูงใจในการทำงานของพนักงานบริษัทบริหารสินทรัพย์ กรุงเทพพาณิชย์ จำกัดen_US
dc.title.alternativeMotivation to Work of Employees at Bangkok Commercial Asset Management Company Limiteden_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc658.31422-
thailis.controlvocab.thashบริษัท บริหารสินทรัพย์ กรุงเทพพาณิชย์ จำกัด-
thailis.controlvocab.thashพนักงานบริษัท-
thailis.controlvocab.thashการจูงใจในการทำงาน-
thailis.manuscript.callnumberว 658.31422 ณ113ร-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระนี้ มีวัตถุประสงค์ศึกษาแรงจูงใจในการทำงานของพนักงานบริษัทบริหารสินทรัพย์ กรุงเทพพาณิชย์ จำกัด รวมทั้งศึกษาเปรียบเทียบแรงจูงใจในการทำงานของพนักงานบริษัทบริหารสินทรัพย์ กรุงเทพพาณิชย์ จำกัด จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล กลุ่มตัวอย่างของการศึกษาครั้งนี้คือ พนักงานบริษัทบริหารสินทรัพย์ กรุงเทพพาณิชย์ จำกัดที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 285 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าความถี่ (Frequency) ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) การทดสอบค่าที (t-test) ค่าเอฟ (F-test) ผลการศึกษาพบว่า พนักงานส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุ 41 ปีขึ้นไป มีสถานภาพสมรส มีการศึกษาระดับปริญญาตรี มีรายได้ต่อเดือนตั้งแต่ 45,001 บาทขึ้นไป และมีอายุการทำงาน 10 ปีขึ้นไป มีแรงจูงใจในการทำงาน โดยรวมอยู่ในระดับมาก และมีแรงงจูงใจต่อปัจจัยจูงใจ โดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยมีแรงจูงใจในด้านความรับผิดชอบ เป็นอันดับแรก อันดับรองลงมา ได้แก่ ด้านความสำเร็จของงาน ด้านลักษณะของงานที่ทำ ด้านการได้รับการยอมรับ และด้านความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน ตามลำดับ ส่วนปัจจัยค้ำจุน พบว่า พนักงานมีแรงจูงใจต่อปัจจัยค้ำจุน โดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยมีแรงจูงใจในด้านความสัมพันธ์ของหัวหน้า และเพื่อนร่วมงาน เป็นอันดับแรก อันดับรองลงมา ได้แก่ ด้านตำแหน่งงาน ด้านสภาพการทำงาน ด้านนโยบายการบริหารของบริษัท ด้านความมั่นคงในการทำงาน ด้านการปกครองบังคับบัญชา และด้านรายได้ และสวัสดิการ ตามลำดับ สำหรับผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบระดับแรงจูงใจในการทำงานของพนักงานบริษัทบริหารสินทรัพย์ กรุงเทพพาณิชย์ จำกัด จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล พบว่า พนักงานที่มีอายุต่างกัน มีแรงจูงใจในการทำงานโดยรวม มีแรงจูงใจต่อปัจจัยจูงใจ ด้านการได้รับการยอมรับนับถือ และด้านความก้าวหน้า ปัจจัยค้ำจุนโดยรวม ด้านการปกครองบังคับบัญชา ด้านความสัมพันธ์ของหัวหน้า และเพื่อนร่วมงาน ด้านสภาพการทำงาน ด้านรายได้ และสวัสดิการ และด้านความมั่นคงในการทำงานแตกต่างกัน ส่วนพนักงานที่มีการศึกษาต่างกัน มีแรงจูงใจในการทำงานต่อปัจจัยค้ำจุน ด้านความมั่นคงในการทำงานแตกต่างกัน ทางด้านรายได้ต่อเดือน พบว่า พนักงานที่มีรายได้ต่อเดือนต่างกัน มีแรงจูงใจในการทำงานต่อปัจจัยค้ำจุน ด้านความสัมพันธ์ของหัวหน้า และเพื่อนร่วมงานแตกต่างกัน สำหรับพนักงานที่มีอายุการทำงานต่างกัน มีแรงจูงใจในการทำงานต่อปัจจัยจูงใจ ด้านความก้าวหน้าแตกต่างกัน แต่พนักงานที่มีเพศ และสถานภาพครอบครัวต่างกัน มีแรงจูงใจในการทำงาน โดยรวม แรงจูงใจต่อปัจจัยจูงใจ และปัจจัยค้ำจุนไม่แตกต่างกันen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.pdfABSTRACT177.79 kBAdobe PDFView/Open
APPENDIX.pdf APPENDIX332.51 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 1.pdf CHAPTER 1257.66 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 2.pdf CHAPTER 2466.67 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 3.pdfCHAPTER 3230.38 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 4.pdfCHAPTER 4814.64 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 5.pdfCHAPTER 5388.75 kBAdobe PDFView/Open
CONTENT.pdfCONTENT194.66 kBAdobe PDFView/Open
COVER.pdfCOVER432.64 kBAdobe PDFView/Open
REFERENCE.pdf REFERENCE199.34 kBAdobe PDFView/Open


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.