Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/45849
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุดารัตน์ ลีรพันธุ์ แฮทฟิลด์-
dc.contributor.authorPoonsinsiri Poolsuken_US
dc.date.accessioned2018-03-13T03:07:32Z-
dc.date.available2018-03-13T03:07:32Z-
dc.date.issued2014-09-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/45849-
dc.description.abstractThis is a quantitative research study titled “Attitudes of Teachers and Students Towards Yong-Standard Thai Code-Switching and Code-Switching Behavior of Teachers in Pa Sang District, Lamphun Province.” The purpose of conducting this quantitative research was to investigate the attitudes of teachers and students towards Yong-Standard Thai code-switching, to examine code-switching behavior of teachers in the classrooms, to investigate their intentions to make code-switching choices and, lastly, the functions of their code-switching. The target group consisted of Thai language teachers who were native Yong speakers and seventh grade students from the Wachira Pa Sang School, the Pa Sang School and the Namdhip Wittayakom School in Lamphun. The instruments were divided into two parts: a video recording for the pilot study, and teachers’ and students’ questionnaires. The pilot study was used to determine code-switching functions used by the teachers as well as to design a questionnaire. Six Thai language classes were recorded for the pilot study and these recordings were analyzed to classify the functions of code-switching. Thereafter, the code-switching functions found in the video were used to design the study’s questionnaires. The questionnaires were pilot tested with four native Yong teachers and one class of seventh grade students, consisting of 25 students from a non-target school with a similar classroom environment. After the pilot test, the questionnaire was adjusted following the consultations with a psychologist and the study advisor. Once the questionnaire was approved, it was used to collect data from the participants, which were analyzed using a statistical program. The research results showed that the teachers employed both Yong and Standard Thai in different situations depending on their intentions. Teachers used marked code (Yong) to call students’ attention, create sense of humor, and check students’ understanding, while unmarked code (Standard Thai) was used for emphasis and clarification. The students agreed with the code-switching behavior of the teachers and had positive attitudes towards the teachers’ classroom code-switching behavior.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectCode-switchingen_US
dc.subjectAttitudesen_US
dc.titleAttitudes of Teachers and Students Towards Yong-Standard Thai Code-Switching and Code-Switching Behavior of Teachers in Pa Sang District, Lamphun Provinceen_US
dc.title.alternativeเจตคติของครูและนักเรียนต่อการสับเปลี่ยนภาษาระหว่างภาษายองกับภาษาไทยกลางและพฤติกรรมการสับเปลี่ยนภาษาของครู อำเภอป่าซาง จังหวัดลำพูนen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc495.91824-
thailis.controlvocab.thashThai language -- Study and teaching -- Pa Sang (Lamphun)-
thailis.controlvocab.thashThai language -- Study and teaching-
thailis.manuscript.callnumberTh/N 495.91824 P822A-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการจัดทำวิจัยเชิงปริมาณเรื่อง “เจตคติของครูและนักเรียนต่อการสับเปลี่ยนภาษาระหว่างภาษายองกับภาษาไทยกลางและพฤติกรรมการสับเปลี่ยนภาษาของครู อำเภอป่าซาง จังหวัดลำพูน” มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาว่าครูและนักเรียนมีเจตคติอย่างไรต่อการสับเปลี่ยนภาษาระหว่างภาษายองและภาษาไทยกลาง ในการจัดการเรียนการสอนในห้องเรียนและเพื่อศึกษาว่าครูมีพฤติกรรมในการสับเปลี่ยนภาษาในขณะที่จัดการเรียนการสอนในห้องเรียนอย่างไร กลุ่มเป้าหมายในการจัดทำวิจัยครั้งนี้ คือ ครูภาษาไทยที่มีภาษาแม่เป็นภาษายองและนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ จากโรงเรียนวชิรป่าซาง โรงเรียนป่าซางและโรงเรียนบ้านน้ำดิบวิทยาคม เครี่องมือในการทำวิจัยแบ่งเป็น ๒ ส่วนคือ การบันทึกวิดีโอเพื่อการศึกษานำร่อง และแบบสอบถามสำหรับครูและนักเรียน การบันทึกวิดีโอเพื่อการศึกษานำร่องได้ถูกนำมาเป็นตัวกำหนดหน้าที่ของการสับเปลี่ยนภาษาของครูและยังนำมาออกแบบเครื่องมือที่เป็นแบบสอบถามสำหรับครูและนักเรียนอีกด้วย โดยมีห้องเรียนทั้งหมด ๖ห้องเรียนที่ถูกบันทึกวิดีโอเพื่อการศึกษานำร่อง หลังจากทำการวิเคราะห์วิดีโอเพื่อการศึกษานำร่องแล้วจึงสามารถกำหนดหน้าที่ของการสับเปลี่ยนภาษาของครูแล้วจึงนำหน้าที่ของการสับเปลี่ยนภาษานั้นมาออกแบบเครื่องมือวิจัยที่เป็นแบบสอบถาม จากนั้นผู้วิจัยจึงนำแบบสอบถามนั้นมาทำการเก็บข้อมูลนำร่อง โดยนำไปเก็บข้อมูลในห้องเรียนของโรงเรียนอื่นที่ไม่ใช่กลุ่มเป้าหมายแต่บริบทคล้ายกับกลุ่มเป้าหมาย ซึ่งประกอบด้วยครูภาษาไทยที่มีภาษาแม่เป็นภาษายอง จำนวน ๔ คน และนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ จำนวน ๑ ห้องเรียนซึ่งประกอบไปด้วยนักเรียนจำนวน ๒๕ คน หลังจากทำการเก็บข้อมูลในโรงเรียนนำร่องแล้ว ผู้วิจัยจึงนำเครื่องมือที่เป็นแบบสอบถามมาปรับปรุง โดยขอคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญทางจิตวิทยาและอาจารย์ที่ปรึกษาการค้นคว้าแบบอิสระจนสมบูรณ์ ผู้วิจัยจึงได้นำเครื่องมือที่เป็นแบบสอบถามไปเก็บข้อมูลจริง โดยใช้เวลาเก็บข้อมูลทั้งหมด ๓สัปดาห์ แล้วจึงนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ตามจุดประสงค์ของงานวิจัยโดยใช้โปรแกรมทางสถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล งานวิจัยชิ้นนี้พบว่า ครูผู้สอนใช้ทั้งภาษายองและภาษาไทยกลางในสถานการณ์ที่แตกต่างกัน ซึ่งขึ้นอยู่กับเจตนาและจุดประสงค์ในการเลือกใช้ภาษาของครูผู้สอนครูผู้สอนพูดภาษายองเพื่อเรียกความสนใจจากนักเรียน สร้างความขบขัน และ ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน ในขณะที่ครูผู้สอนจะพูดภาษาไทยเพื่อเน้นย้ำเนื้อหาสำคัญของบทเรียนและทำให้สิ่งที่ครูผู้สอนพูดมีความชัดเจน และนักเรียนส่วนใหญ่มีทัศนคติในเชิงบวกเห็นด้วยกับวิธีการสับเปลี่ยนภาษาของครูในการจัดการเรียนการสอนในห้องเรียนen_US
Appears in Collections:HUMAN: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.pdf ABSTRACT345.58 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
APPENDIX 1.pdf APPENDIX 11.01 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy
APPENDIX 2.pdfAPPENDIX 2.451.94 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
APPENDIX 3.pdfAPPENDIX 3791.76 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 1.pdf CHAPTER 1665.67 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 2.pdf CHAPTER 2557.13 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 3.pdf CHAPTER 3689.02 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 4.pdfCHAPTER 4.830.96 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 5.pdf CHAPTER 5301.49 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CONTENT.pdfCONTENT476.16 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
COVER.pdfCOVER1.04 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy
REFERENCE.pdfREFERENCE469.37 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.