Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/43400
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรวี ลงกานี-
dc.contributor.authorเกรียงไกร ก้อนคำen_US
dc.date.accessioned2017-12-18T07:08:58Z-
dc.date.available2017-12-18T07:08:58Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/43400-
dc.description.abstractThe objective of this independent study is to compare the performances of portfolio constructed using fundamental factors, industrial factors, and random selection. The performances of portfolio are measured by Jensen’s Alpha (α) which is the excess returns from the four-factor pricing model. By running the regression using daily data on each portfolio during January 2007 to December 2012, the alpha value is derived and is used to compare the performance across portfolios. Results of performance comparison show that only fundamental portfolio has the excess return significant different from zero, and has the coefficient of variation lower than that other portfolio with the coefficient of determination (adjusted R2) equal to 88.3%. From these results, it can be conclude that four-factor pricing model is appropriate to explore the returns and the performance of portfolio constructed using fundamental factor is the superior portfolio relative to other portfolios. The study shows that the investor should be focused on fundamental portfolio and use as guidelines investment in the stock exchange of Thailand. If consider to risk factors in the four-factor pricing model, it also show that market premium, size premium, and value premium related to the rate of return on three groups of portfolio but momentum premium cannot explain rate of return on the portfolio.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการเปรียบเทียบประสิทธิภาพen_US
dc.subjectแบบจำลองราคาสี่ปัจจัยen_US
dc.titleการเปรียบประสิทธิภาพกลุ่มหลักทรัพย์ตามปัจจัยพื้นฐานกลุ่มหลักทรัพย์ ตามอุตสาหกรรม และกลุ่มหลักทรัพย์สุ่มเลือก โดยใช้แบบจำลองราคาสี่ปัจจัยen_US
dc.title.alternativePerformance Comparison of Portfolio Constructed by Fundamental Factors, Industrial Factors and Random Selection by Using Four-factor Pricing Modelen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc332.632-
thailis.controlvocab.thashหลักทรัพย์-
thailis.controlvocab.thashตลาดหลักทรัพย์-
thailis.manuscript.callnumberว 332.632 ก573ก-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพกลุ่มหลักทรัพย์ตามปัจจัยพื้นฐาน กลุ่มหลักทรัพย์ตามอุตสาหกรรม และกลุ่มหลักทรัพย์สุ่มเลือกโดยใช้แบบจำลองราคาสี่ปัจจัย โดยประสิทธิภาพของกลุ่มหลักทรัพย์สามารถพิจารณาได้จากมาตรวัดประสิทธิภาพของ Jensen (α) ทั้งนี้เพื่อต้องการทราบว่าการจัดกลุ่มหลักทรัพย์แบบใดที่ให้อัตราผลตอบแทนเกินปกติ การเปรียบเทียบประสิทธิภาพกลุ่มหลักทรัพย์ จะใช้แบบจำลองราคาสี่ปัจจัยมาวิเคราะห์ด้วยสมการถดถอยหลายตัวแปรเพื่อหาประสิทธิภาพหรือค่าอัลฟ่า (α) และทำการเปรียบเทียบประสิทธิภาพกลุ่มหลักทรัพย์ทั้งสามกลุ่ม โดยใช้ข้อมูลของหลักทรัพย์ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยตั้งแต่เดือนมกราคม พ.ศ.2550 ถึงเดือนธันวาคม พ.ศ.2555 รวมทั้งหมด 72 เดือน ผลการเปรียบเทียบประสิทธิภาพกลุ่มหลักทรัพย์ แสดงให้เห็นแล้วว่ามีเพียงค่าอัลฟ่า (α) ของกลุ่มหลักทรัพย์ตามปัจจัยพื้นฐานเพียงกลุ่มเดียวที่มีอัตราผลตอบแทนเกินปกติอย่างมีนัยสำคัญ และมีค่าสัมประสิทธิ์การแปรผัน (Coefficient of Variation) ต่ำกว่ากลุ่มหลักทรัพย์อื่นๆ เมื่อพิจารณา ค่าสัมประสิทธิ์การตัดสินใจพหุคูณ (Adjusted R¬¬2) พบว่ามีค่าเฉลี่ยของค่าสัมประสิทธิ์การตัดสินใจพหุคูณมีค่าเท่ากับ 88.3% แสดงว่าแบบจำลองราคาสี่ปัจจัยสามารถ อธิบายถึงอัตราผลตอบแทนของหลักทรัพย์ได้ดี จากผลการศึกษาสามารถสรุปได้ว่าแบบจำลองราคาสี่ปัจจัยเป็นแบบจำลองที่เหมาะสมในการวิเคราะห์อัตราผลตอบแทนกับความเสี่ยง และทำให้พบว่ากลุ่มหลักทรัพย์ตามปัจจัยพื้นฐานเป็นกลุ่มหลักทรัพย์ที่มีประสิทธิภาพดีกว่ากลุ่มหลักทรัพย์อื่นๆ ผลการศึกษาสรุปได้ว่ากลุ่มหลักทรัพย์ตามปัจจัยพื้นฐานเป็นกลุ่มหลักทรัพย์ที่นักลงทุนควรให้ความสนใจและใช้เป็นแนวทางในการลงทุนตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยได้ เมื่อพิจารณาถึงปัจจัยเสี่ยงตามแบบจำลองราคาสี่ปัจจัย ยังสรุปได้อีกว่าปัจจัยเสี่ยงด้านตลาด ปัจจัยเสี่ยงด้านขนาด และปัจจัยเสี่ยงด้านมูลค่า มีความสัมพันธ์กับอัตราผลตอบแทนของกลุ่มหลักทรัพย์ทั้งสามกลุ่ม ส่วนปัจจัยเสี่ยงด้านอัตราผลตอบแทนในอดีต ไม่สามารถอธิบายอัตราผลตอบแทนของกลุ่มหลักทรัพย์ได้en_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.pdfABSTRACT2.82 MBAdobe PDFView/Open
APPENDIX.pdfAPPENDIX2.82 MBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 1.pdf CHAPTER 12.82 MBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 2.pdfCHAPTER 22.82 MBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 3.pdfCHAPTER 32.82 MBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 4.pdf CHAPTER 42.82 MBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 5.pdf CHAPTER 52.82 MBAdobe PDFView/Open
CONTENT.pdf CONTENT2.82 MBAdobe PDFView/Open
COVER.pdfCOVER626.2 kBAdobe PDFView/Open
REFERENCE.pdf REFERENCE2.82 MBAdobe PDFView/Open


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.