Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/40012
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พิมพ์ชนก เครือสุคนธ์-
dc.contributor.authorลิสรา คงเมืองen_US
dc.date.accessioned2017-08-30T07:41:20Z-
dc.date.available2017-08-30T07:41:20Z-
dc.date.issued2558-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/40012-
dc.description.abstractThe objectives of this research were (1) to study the attitudes towards living in condominium (2) to study the relationships among attitudes towards living in condominium, subjective norm, perceived behavioral control and intention to purchase condominium and (3) to examine the predictive power of attitudes towards living in condominium, subjective norm and perceived behavioral control on intention to purchase condominium among consumers in Amphoe Mueang, Chiang Mai. A correlational research design was conducted. The sample consists of 400 consumers living in Amphoe Mueang, Chiang Mai. Instruments were (1) a measure of attitudes towards living in condominium, (2) a measure of subjective norms, (3) a measure of perceived behavioral control, (4) intention to purchase condominium scale, and personal data questionnaire. Data were analyzed using Pearson Correlation coefficient analysis and Multiple Regression Analysis. The findings indicate that: 1. The sample had attitudes towards living in condominium at moderate level (M = 3.27, SD = .81) 2. Attitudes towards living in condominium, subjective norms, perceived behavioral control were positively related to intention to purchase condominium of consumers in Amphoe Mueang, Chiang Mai (p < .01) 3. Attitudes towards living in condominium, Subjective norms, Perceived behavioral control significantly predicted intention to purchase condominium of consumers in Amphoe Mueang, Chiang Mai (p < .01) , accounting for 46.7% of explained Variance.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectพฤติกรรมผู้บริโภคen_US
dc.subjectอาคารชุดen_US
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างทัศนคติต่อการอยู่คอนโดมิเนียม บรรทัดฐานกลุ่มอ้างอิง การรับรู้ความสามารถในการควบคุมพฤติกรรมและความตั้งใจซื้อคอนโดมิเนียมของผู้บริโภคในเขตอำเภอเมืองจังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeRelationships Among Attitudes Towards Living in Condominium, Subjective Norms, Perceived Behavioral Control, and Intention to Purchase Condominium of Consumers in Amphoe Mueang, Chiang Maien_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc658.8342-
thailis.controlvocab.thashพฤติกรรมผู้บริโภค -- เขียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashอาคารชุด -- เขียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashอาคารชุด -- การจัดซื้อ-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 658.8342 ล387ค-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาทัศนคติต่อการอยู่คอนโดมิเนียมของผู้บริโภคในเขตอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ (2) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างทัศนคติต่อการอยู่คอนโดมิเนียม บรรทัดฐานของกลุ่มอ้างอิง การรับรู้ความสามารถในการควบคุมพฤติกรรมและความตั้งใจซื้อคอนโดมิเนียม (3) ศึกษาอำนาจพยากรณ์ร่วมกันของทัศนคติต่อการอยู่คอนโดมิเนียม บรรทัดฐานกลุ่มอ้างอิง การรับรู้ความสามารถในการควบคุมพฤติกรรมที่มีต่อความตั้งใจซื้อคอนโดมิเนียม รูปแบบการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงสหสัมพันธ์ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ที่อาศัยอยู่ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบวัดทัศนคติที่มีต่อการอยู่คอนโดมิเนียม แบบวัดบรรทัดฐานกลุ่มอ้างอิง แบบวัดการรับรู้ความสามารถในการควบคุมพฤติกรรม แบบวัดความตั้งใจซื้อคอนโดมิเนียม และแบบสอบถามเกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคคล วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีการหาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า 1. กลุ่มตัวอย่างมีทัศนคติระดับปานกลางต่อการอยู่คอนโดมิเนียมในเขตอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ (M = 3.27, SD = .81) 2. ทัศนคติต่อการอยู่คอนโดมิเนียม บรรทัดฐานของกลุ่มอ้างอิง การรับรู้ความสามารถในการควบคุมพฤติกรรม มีความสัมพันธ์ทางบวกกับความตั้งใจซื้อคอนโดมิเนียมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .01) 3. ทัศนคติต่อการอยู่คอนโดมิเนียม บรรทัดฐานกลุ่มอ้างอิง การรับรู้ความสามารถในการควบคุมพฤติกรรม สามารถร่วมกันพยากรณ์ความตั้งใจซื้อคอนโดมิเนียมได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .01) โดยสามารถร่วมกันอธิบายความแปรปรวนของความตั้งใจซื้อคอนโดมิเนียมได้ร้อยละ 46.7en_US
Appears in Collections:HUMAN: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
abstract.docxAbstract (words)48.57 kBMicrosoft Word XMLView/Open    Request a copy
ABSTRACT.pdfAbstract 159.46 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
FULL.pdfFull IS3.32 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.