Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39949
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorDr. Sarawute Chantraprasert-
dc.contributor.authorWorawong Sirisookpraserten_US
dc.date.accessioned2017-08-24T04:38:09Z-
dc.date.available2017-08-24T04:38:09Z-
dc.date.issued2014-11-07-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39949-
dc.description.abstractThe Chatree Gold Mine is located at the boundary between the Phichit and Phetchabun provinces in northeast-central Thailand. The gold mineralization occurs in epithermal veins and breccias hosted in Lower Triassic (250±6 Ma) volcanic and volcaniclastic-epiclastic sedimentary rocks. Structural evolution with respect to mineralization in the area covering the A and K-East Pits of the Chatree Gold mine has been interpreted based on geophysical data, pit-mapping data and kinematic-dynamic analyses of fault slip data. The results indicated that the volcanic and sedimentary host rocks were erupted and deposited under E-W extension generating N-S trending normal faults, probably in a back-arc position along a continental margin subduction zone that continued from the Permian. Mineralized veins intruded along normal faults and associated fracture systems probably during or shortly after the extension episode at 250.9±0.8 Ma. The mineralization zones were then crosscut and redistributed by Middle Triassic andesitic dykes (244±7 Ma) and strike-slip faults, both of which trend NW-SE and NE-SW. The strike-slip faults of both orientations have both right-lateral and left-lateral movements. During the Late Triassic, the area was affected by E-W compression that was probably related to collision between the Indochina Plate and the Shan-Thai Plate (Sibumasu Plate) or its constituent terranes. The compression produced N-S trending reverse faults and shear zones. Certain reverse faults have been observed a result of inversion of the pre-existing normal faults. The dykes and strike-slip faults are inferred to have formed simultaneously under transient stress systems during the gradual transition between the Early Triassic E-W extensions to the Late Triassic E-W compression.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectGeology, Structuralen_US
dc.titleStructural Geology and Mineralization in A and K-East Pits at Chatree Gold Mine, Phichit and Phetchabun Provinces, Thailanden_US
dc.title.alternativeธรณีวิทยาโครงสร้างและการเกิดแร่ในบ่อเหมืองเอ และ บ่อเหมืองเค-ตะวันออก ณ เหมืองแร่ทองคำชาตรี จังหวัดพิจิตร และจังหวัดเพชรบูรณ์ ประเทศไทยen_US
dc.typeThesis
thailis.classification.ddc551.8-
thailis.controlvocab.lcshGeology, Structural -- Phichit-
thailis.controlvocab.thashGeology, Structural -- Phetchabun-
thailis.controlvocab.thashMines and mineral resources-
thailis.manuscript.callnumberTh 551.8 W919S-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractเหมืองทองชาตรีตั้งอยู่บริเวณรอยต่อระหว่างจังหวัดพิจิตร และเพชรบูรณ์ ทางตะวันออกของภาคกลางของประเทศไทย สินแร่ทองเกิดในสายน้ำแร่ร้อนอุณภูมิต่ำ ที่แทรกอยู่ในหินเหย้าอายุไทรแอสซิก (250±6 Ma) ซึ่งประกอบด้วย หินภูเขาไฟ หินชิ้นภูเขาไฟ และหินตะกอน การแปลความหมาย วิวัฒนาการทางธรณีวิทยาโครงสร้าง ที่สัมพันธ์กับการเกิดแร่ ในบ่อเหมือง เอ และ เค ตะวันออก โดยใช้ข้อมูลธรณีฟิสิกส์ ข้อมูลการทำแผนที่บ่อเหมือง และการวิเคราะห์เชิงจลศาสตร์และพลศาสตร์ ของข้อมูลการเลื่อนของรอยเลื่อน บ่งชี้ว่าหินเหย้าซึ่งประกอบด้วยหินภูเขาไฟ และหินตะกอนนั้น มีการประทุและตกทับถม ภายใต้การยืดออกทางด้านข้าง ในทิศตะวันออกตะวันตก โดยมีรอยเลื่อนปรกติที่วางตัวในทิศเหนือใต้เกิดร่วมด้วย ช่วงเวลานี้คาดว่าพื้นที่ศึกษาอยู่ภายในแอ่งหลังแนวภูเขาไฟรูปโค้ง สัมพันธ์กับการมุดตัวของพื้นทะเล บริเวณขอบทวีป ที่เกิดต่อเนื่องมาตั้งแต่ยุคเพอร์เมียน ในช่วงเวลาเดียวกัน หรือหลังจากนั้นไม่นาน (250.9±0.8 Ma) สายแร่ได้แทรกเข้าไปในหินเหย้า ตามแนวรอยเลื่อนปรกติ และกลุ่มรอยแตกที่เกิดร่วมกัน หลังจากนั้นพนังหินอัคนีอายุไทรแอสซิกตอนกลาง (244±7 Ma) ที่มีองค์ประกอบแอนดีไซต์ ได้แทรกตัดผ่านโซนแร่ และรอยเลื่อนตามแนวระดับที่เกิดในช่วงเวลาเดียวกัน ได้ทำให้โซนแร่มีการกระจายตัวที่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม ทั้งนี้พนังหินอัคนีและรอยเลื่อนตามแนวระดับเหล่านี้ มีการวางตัวอยู่ในทิศทางเดียวกัน คือตามแนว ตะวันตกเฉียงเหนือตะวันออกเฉียงใต้ และตะวันออกเฉียงเหนือตะวันตกเฉียงใต้ และมีหลักฐานแสดงการเลื่อน ทั้งแบบตามแนวระดับไปทางซ้าย และไปทางขวา ในช่วงเวลาไทรแอสซิกตอนปลาย พื้นที่ศึกษาตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของ การอัดทางด้านข้างในทิศตะวันออกตะวันตก ที่คาดว่าสัมพันธ์กับการชนกัน ของแผ่นทวีปอินโดจีน กับแผ่นทวีปฉานไทย (แผ่นทวีปสึบูมาสุ) หรือกับแผ่นทวีปย่อยอื่นๆในแผ่นทวีปฉานไทย ทำให้เกิดรอยเลื่อนย้อน และโซนการเฉือนแบบย้อน ที่วางตัวเหนือใต้ โดยบางแนวเกิดจากการเลื่อนย้อนกลับ ของรอยเลื่อนปรกติเดิม การศึกษาครั้งนี้ ได้แปลความหมายว่า พนังหินอัคนี และรอยเลื่อนตามแนวระดับ ที่ตัดผ่านโซนแร่นั้น เกิดร่วมกันภายใต้ระบบหน่วยแรง ที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างช้าๆ จากแบบยืดออกทางด้านข้าง ตามแนวตะวันออกตะวันตก ในช่วงไทรแอสซิกตอนต้น ไปเป็นแบบอัดทางด้านข้าง ตามแนวตะวันออกตะวันตก ในช่วงไทรแอสซิกตอนปลายen_US
Appears in Collections:SCIENCE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf24.96 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.