Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39946
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorAsst. Prof. Dr. Siramas Komonjinda-
dc.contributor.advisorAsst. Prof. Dr. Giovanni Covone-
dc.contributor.authorAnirut Phrikseeen_US
dc.date.accessioned2017-08-24T04:33:30Z-
dc.date.available2017-08-24T04:33:30Z-
dc.date.issued2015-04-03-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39946-
dc.description.abstractWeak gravitational lensing is an efficient technique to detect galaxy clusters and to probe their mass distribution. Galaxy clusters are the most massive gravitationally bound systems in the Universe, and their study provides important information about the formation of cosmic structures and the cosmological parameters. In this thesis we present a weak gravitational lensing analysis of a large sample of galaxy clusters. We have used the data from the Canada France Hawaii Telescope Legacy Survey (CFHT-LS) to obtain the mass measurement of 1342 galaxy clusters from the photometric catalog of Wen et al. (2012), located in the redshift range 0.1 < z < 0.8. From this very large dataset, we considered a set of 1176 galaxy clusters with robust weak lensing analysis and we have built a nearly complete sample of 50 optically rich clusters, which detailed study will be very valuable to investigate the dark matter distribution and the scaling relations. In particular, we have improved the color-color selection technique used to select background galaxies and we have used weak gravitational lensing to measure, for each galaxy cluster, the mass density radial profile, the total mass and the mass-to-light ratio (by comparing with the total luminosity of all the member galaxies). Our results show that the mass-to-light ratio is increasing with respect to the total mass of the clusters and the mean mass-to-light ratio of our sample of clusters is very viii close to mean cosmological value, as measured by the Planck satellite. These results also support the hypothesis that the dark matter is located mainly in the large halos of individual galaxy. Furthermore, this project is a preliminary step towards the next analysis of the weak lensing galaxy clusters in the surveys KiDS and VOICE, those are currently collecting data with the VLT Survey Telescope, in Chile.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectGravitationen_US
dc.titleWeak Gravitational Lensing Analysis of a Large Sample of Massive Galaxy Clustersen_US
dc.title.alternativeการวิเคราะห์เลนซิงความโน้มถ่วงแบบอ่อนของกลุ่มตัวอย่างขนาดใหญ่ ของกระจุกกาแล็กซีมวลมากen_US
dc.typeThesis
thailis.classification.ddc531.14-
thailis.controlvocab.lcshGravitation-
thailis.controlvocab.thashGalaxies -- Mass (Physics)-
thailis.manuscript.callnumberTh 531.14 A597W-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractเลนซิงความโน้มถ่วงแบบอ่อนเป็นเทคนิคที่มีประสิทธิภาพในการตรวจวัดกระจุกกาแล็กซีและ การกระจายตัวของมวลกระจุกกาแล็กซีเป็นระบบภายใต้แรงโน้มถ่วงที่มีมวลขนาดใหญ่ในเอกภพ การศึกษาโครงสร้างดังกล่าวสามารถทาให้เข้าใจถึงวิวัฒนาการของโครงสร้างของเอกภพและ ค่าตัวแปรของแบบจา ลองเอกภพ ในงานวิจัยนี้นา เสนอการวิเคราะห์เลนซิงความโน้มถ่วงแบบอ่อนของกลุ่มตัวอย่างขนาดใหญ่ ของกระจุกกาแล็กซีมวลมาก โดยใช้ข้อมูลจากกล้องโทรทรรศน์แคนาดา-ฝรั่งเศส-ฮาวาย ที่ได้ให้ การวัดมวลของกระจุกกาแล็กซี 1342 กระจุกจากแคตาล็อกภาพถ่ายของ Wen et al. (2012) ในช่วง เรดชิพระหว่าง 0.1 - 0.8 จากข้อมูลดังกล่าวเราได้สร้างกลุ่มกระจุกกาแล็กซี 1176 กระจุกซึ่งมี ความสามารถในการศึกษาเลนซิงความโน้มถ่วงแบบอ่อน และสร้างกลุ่มตัวอย่างของ 50 กระจุก กาแล็กซีมวลมากซึ่งการศึกษาในรายละเอียดทา ให้สามารถที่จะตรวจสอบการกระจายตัวของสสารมืด แลความสัมพันธ์สเกลได้นอกจากนี้ยังทา การปรับปรุงเทคนิคการเลือกกาแล็กซีพื้นหลังด้วยสี และ ใช้ในการวัดเลนซิงความโน้มถ่วงแบบอ่อนของแต่ละกระจุกกาแล็กซีวัดค่าโปรไฟล์ความหนาแน่น แนวรัศมี และอัตราส่วนมวลต่อแสงสุทธิของแต่ละกระจุกกาแล็กซี (ด้วยการเปรียบเทียบกับกาลัง ส่องสว่างรวมของกาแล็กซีสมาชิกทั้งหมด) ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าอัตราส่วนมวลต่อแสงเพิ่มขึ้นสัมพันธ์กับมวลของกระจุกาแล็กซี และค่าเฉลี่ยของอัตราส่วนมวลต่อแสงในกลุ่มตัวอย่างเข้าใกล้ค่าเฉลี่ยของค่าแบบจาลองของเอกภพ ที่ใช้ในปัจจุบันจากดาวเทียมแพลงก์ผลการศึกษานี้ยังยืนยันสมมุติฐานที่ว่าสสารมืดมีตา แหน่งในฮาโล vi ของแต่ละกาแล็กซีงานวิจัยนี้เป็นการศึกษาเบื้องต้นสาหรับการนาไปใช้ในการวิเคราะห์เลนซิง ความโน้มถ่วงแบบอ่อนของกระจุกกาแล็กซีในโครงการสารวจของคิดส์และวอยซ์ที่กาลังเก็บข้อมูล ด้วยกล้องโทรทรรศน์สารวจขนาดใหญ่ในประเทศชิลีen_US
Appears in Collections:SCIENCE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf18.08 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.