Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39931
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Asst. Prof. Dr. Ariyaphong Wongnoppavich | - |
dc.contributor.advisor | Lect.Dr. Arisa Bonness | - |
dc.contributor.author | Nureeya Waloh | en_US |
dc.date.accessioned | 2017-08-24T04:04:18Z | - |
dc.date.available | 2017-08-24T04:04:18Z | - |
dc.date.issued | 2014-11-27 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39931 | - |
dc.description.abstract | The leaves of Azadirachta indica (AI) and Gymnema inodorum (GI) have been reported on their anti-inflammatory and anti-diabetic potentials in animal model. However, there was no report studying the mechanism of bioactivities of AI and GI on adipocyte which directly involves in obesity and insulin resistance. Obesity induces a chronic local inflammation in adipose tissue, while macrophages also play a crucial role in adipocyte inflammation and systemic metabolic abnormalities. Subsequently, several inflammatory cytokines, especially TNF- can induce the insulin resistance in adipocyte. The purpose of this study is to determine whether AI and GI have inhibitory effect on both inflammation and insulin resistance in macrophage and adipocyte, respectively. Crude exthanolic extracts of AI and GI leaves were prepared and then analyzed for their phytochemical composition, and antioxidant activities. The results showed that total phenolic and flavonoid contents were more intensive both in the GI and AI extracts. The ethanolic extracts exhibited higher free radical scavenging effect on the DPPH assay. Next, the extract from these plant leaves were tested for their anti-inflammatory activity in RAW 264.7 macrophage and anti-insulin resistant activity in 3T3-L1 adipocyte. AI and GI exhibited the inhibitory effect against the nitric oxide production in LPS-activated macrophage in a dose-dependent manner. The extracts were not toxic to 3T3-L1 adipocyte as determined by WST-1 assay. Using a co-culture model, insulin resistance was induced in 3T3-L1 by the inflamed RAW 264.7 cells. Both AI and GI (12.5 and 25 g/ml) significantly improved the insulin response of 3T3L-1 by increasing the cellular uptake of glucose, and decreasing the lipolysis closed to the basal levels. Moreover, using RT-qPCR analysis, both AI and GI (25g/mL) reduced the expression of several pro-inflammatory cytokines (IL-1 and TNF). Finally, the results of this study likely demonstrate their anti-inflammatory and anti-insulin resistant activities for a possible use of Azadirachta indica and Gymnema inodorum leaves as an effective herbal medicine for prevention and treatment of diabetes. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | Plant Extracts | en_US |
dc.title | Effects of Ethanolic Extracts from Azadirachta indica and Gymnema inodorum Leaves on Anti-Inflammation in Macrophage and Anti-Insulin Resistance in Adipocyte | en_US |
dc.title.alternative | ผลของสารสกัดเอทานอลจากใบสะเดาและใบเชียงดาต่อการต้านการอักเสบในแมคโครฟาจและการดื้อต่ออินซูลินในเซลล์ไขมัน | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.lcsh | Plant Extracts | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Ethanol | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Insulin Resistance | - |
thailis.manuscript.callnumber | Th 615.19 N974E | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | จากการศึกษารายงานเกี่ยวกับใบสะเดาและเชียงดาพบว่ามีฤทธิ์ต้านการอักเสบและต้านเบาหวานในสัตว์ทดลอง แต่ปัจจุบันยังไม่พบว่ามีรายงานศึกษาเกี่ยวกับกลไกของสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพของสะเดาและเชียงดาต่อเซลล์ไขมัน ซึ่งเป็นเซลล์ที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับภาวะอ้วนและการดื้อต่ออินซูลิน ภาวะอ้วนเหนี่ยวนำการอักเสบแบบเรื้อรังภายในเนื้อเยื่อไขมัน ในขณะที่แมคโครฟาจมีบทบาทสำคัญต่อการอักเสบของเซลล์ไขมันและความผิดปกติทางระบบเมทาบอลิกด้วยเช่นกัน จากนั้น สารก่ออักเสบหลายชนิด โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ทีเอ็นเอฟ-แอลฟ่า สามารถเหนี่ยวนำการดื้อต่ออินซูลินในเซลล์ไขมัน วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้คือเพื่อศึกษาฤทธิ์ของผักสะเดาและผักเชียงดาต่อการต้านการอักเสบในเซลล์แมคโครฟาจและต้านการดื้ออินซูลินในเซลล์ไขมัน สารสกัดหยาบเอทานอลของใบสะเดาและใบเชียงดาถูกเตรียมขึ้นและวิเคราะห์หาองค์ประกอบทางพฤกษเคมี และฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ ผลการทดลองพบว่าปริมาณฟีนอลิคทั้งหมดและฟลาโวนอยทั้งหมดมีสูงมากในสารสกัด ทั้งจากใบสะดาเละใบเชียงดา สารสกัดเอทานอลนี้มีฤทธิ์กำจัดสารอนุมูลอิสระที่สูง จากนั้น สารสกัดจากพืชทั้งสองนี้ได้ถูกทดสอบฤทธิ์ต้านการอักเสบในเซลล์แมคโครฟาจ อาร์เอดับบิว 264.7 และฤทธิ์ต้านการดื้อต่ออินซูลินในเซลล์ไขมัน 3ที3-แอล1 ผลการศึกษาพบว่าสารสกัดแสดงฤทธิ์ยับยั้งการสร้างไนตริกออกไซด์ในแมคโครฟาจที่ถูกเหนี่ยวนำด้วยแอลพีเอสในลักษณะแปรผันตามปริมาณสารสกัด สารสกัดไม่มีความเป็นพิษต่อเซลล์ไขมันจากการทดสอบด้วยวิธีดับบิวเอสที-1 การดื้อต่ออินซูลินในเซลล์ไขมันเกิดขึ้นได้โดยใช้วิธีการเพาะเลี้ยงเซลล์ร่วมกับแมคโครฟาจที่เกิดการอักเสบ ผลการทดสอบพบว่าสารสกัดใบสะเดาและเชียงดา ที่ 12.5 และ 25 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร สามารถทำให้การตอบสนองต่ออินซูลินของเซลล์ไขมันเพิ่มสูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ โดยเพิ่มการขนส่งกลูโคสเข้าสู่เซลล์และลดการสลายไขมันให้กลับคืนเหมือนระดับปกติ นอกจากนี้ ผลการวิเคราะห์ด้วย อาร์ที-คิวพีซีอาร์ พบว่าสารสกัดทั้งสองสามารถลดการแสดงออกของยีนที่เกี่ยวข้องกับการอักเสบ ได้แก่ ไอแอล-1 และ ทีเอ็นเอฟ-แอลฟ่า ท้ายสุดนี้ ผลจากการศึกษาครั้งนี้ได้แสดงให้เห็นถึงฤทธิ์ของใบสะเดาและใบเชียงดาต่อการต้านการอักเสบในเซลล์แมคโครฟาจและต้านการดื้อต่ออินซูลินในเซลล์ไขมัน จึงควรที่จะมีการส่งเสริมการใช้พืชเหล่านี้เป็นยาสมุนไพรที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันโรคเบาหวานต่อไป | en_US |
Appears in Collections: | MED: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Full.pdf | 4.96 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.