Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39922
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorAssoc. Prof. Dr. Prasert Chaitip-
dc.contributor.advisorLect. Dr. Chukiat Chaiboonsri-
dc.contributor.advisorAssoc. Prof. Dr. Kanchana Chokethaworn-
dc.contributor.authorAthikone Bouphanouvongen_US
dc.date.accessioned2017-08-23T05:14:13Z-
dc.date.available2017-08-23T05:14:13Z-
dc.date.issued2014-12-29-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39922-
dc.description.abstractThis paper investigates the significance influence of economic factors in determining international tourism demands in Laos PDR using panel ARDL approach .Data collected was from 8 countries in ASEAN region based on sample of 9 years ( 2005 to 2013) and macroeconomic force acting for a given time affecting 9 year rates of return for listed in Thailand, Vietnam, Cambodia, Singapore, Philippine, Malaysia, Brunei and Indonesia. The impulses of 8 ASEAN macroeconomic forces Dt, GDPt, TPt, and POt acting for a given time influence the demand of tourists with both a domestic effect and an outsider effect at same period. The method was used based on Pooled Mean Group Estimator (PMGE), Mean Group Estimator (MGE) and Hausman Test to find long run and short run relationship of international tourism demand for Laos PDR. To test whether or not the data was stationary this research used five methods, including the LLC(2002) panel unit root test, IPS (2003) panel unit root test, PP (2001) panel unit root test,ADF panel unit root test this study found out the long run relationship between factors affecting by using PMG. The results are as follows. Variable lnGDP, lnPO and lnTP have long run relationship and also have positive effect on the international tourism demand for Laos PDR, in other word, when GDP of origin countries increases, price of fuel increases, and demand of tourist arrival to Laos increase too. The main variable rate is inversely proportional the GDP and shall be more effective on the supporting demand of foreign tourist arriving to Laos than Price of tourism and price of fuel. Also the result show that for short run relation between demand of tourism and determinant factors of lnGDP, lnPO and lnTP, those variable have short run relationship,in other word there is error term in the short run.so factors have significant to explain short run relationship.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectTouristsen_US
dc.subjectLaosen_US
dc.titleEstimating International Tourism Demand for Laos PDR Using Panel ARDL Approachen_US
dc.title.alternativeการประมาณการอุปสงค์นักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศต่อประเทศลาวโดยวิธีการวิเคราะห์ พาแนล เออาร์ดีแอลen_US
dc.typeThesis
thailis.classification.ddc338.4791-
thailis.controlvocab.lcshTourists -- Laos-
thailis.controlvocab.thashTourists -- Supply and demand-
thailis.controlvocab.thashConsumption (Economics)-
thailis.manuscript.callnumberTh 338.4791 A871E-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractในการศึกษาครั้งนี้ได้ทำการศึกษาปัจจัยทางด้านเศรษฐกิจมหภาคที่เป็นปัจจัยสำคัญในการตัดสินและกำหนดทำให้นักท่องเที่ยวต่างประเทศเข้ามาเที่ยว สปป ลาว โดยการใช้ข้อมูลพาแนลมาทำการประมาณค่าด้วยวิธีเออาร์ดีแอล ขั้นตอนการรวบรวมข้อมูลได้ทำการเลือกกลุ่มประเทศในการศึกษาโดยกำหนดเอา 8 ประเทศในภูมิภาคอาเซียน เช่น ประเทศไทย เวียดนาม กัมพูชา สิงคโปร์ อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ บรูไน และมาเลเซีย เชิงช่วงเวลาที่ทำการศึกษาระหว่าง 2005-2013 จำนวน 9 ปี งานวิจัยครั้งนี้ได้กำหนดตัวแปรตามได้แก่ ความต้องการของนักท่องเที่ยวต่างประเทศที่ต้องการเข้ามาเที่ยวใน สปป ลาว ส่วนตัวแปรอิสระประกอบด้วย จีดีพีต่อหัวคนของประเทศที่ต้องการเข้ามาเที่ยวลาว ต้นทุนราคาการท่องเที่ยว เชิงเป็นต้นทุนเช่น การใช้จ่ายในการท่องเที่ยวที่ประเทศปายทางก็คือประเทศลาว การใช้จ่ายค่าที่พัก อาหาร เป็นต้น และอีกปัจจัยหนึ่งที่เป็นตัวแปรอิสระก็คือ ราคาน้ำมันเครื่องบิน โดยราคาดังกล่าวได้มีการเปลี่ยนต้นทุนการเดินทางแต่ประเทศปายทางรอดต้นทาง การวิจัยครั้งนี้ได้นำใช้วิธีการศึกษาโดยวิธี Pooled Mean Group และ Mean Group มาทำการประมาณค่า พร้อมกันนั้นได้ใช้วิธีการเลือกรูปแบบ Model ที่ดีที่สุดในการมาประมาณค่าด้วยวิธี Hausman Test ซึ่งวิธี Pooled Mean Group และ Mean Group เป็นการประมาณค่าความสัมพันธ์ระยะสั้นและระยะยาวไปพร้อมๆกันในสมการเดียวกัน ผลการศึกษาด้วยวิธีการทดสอบความนิ่งของข้อมูลด้วยวิธี LLC, IPS, PP และ ADF พบว่าข้อมูลที่นำมาประมาณค่ามีความนิ่งอยู่ในระดับที่แตกต่างกัน คือระดับ I(0) และ I(1) ส่วนผลการทดสอบการประมาณค่าความสัมพันธ์ระยะสั้นและระยะยาวระหว่างตัวแปรตามและตัวแปรอิสระ ด้วยวิธี PMG พบว่า lnGDP LnPO และ lnTP มีความสัมพันธ์ระยะยาวและมีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกัน ส่วนการทดสอบความสัมพันธ์ในระยะสั้น ตัวแปรที่นำมาทำการวิเคราะห์ไม่มีความสัมพันธ์ทางด้านระยะสั้น ซึ่งอาจมีปัจจัยอื่นที่เป็นตัวกำหนดความสัมพันธ์ระยะสั้น สำหรับการประมาณค่าดว้ยวิธี MG พบว่าไม่มีความสัมพันธ์ทั้งระยะสั้นและระยะยาว ดังนั้นเมื่อทำการทดสอบรูปแบบ Model ที่เหมาะสมที่สุดในการนำใช้วิธีด้วยวิธี Hausman Test พบว่าวิธี ARDL ด้วยแบบ PMG มีความเหมาะสมที่สุด จากผลการวิจัยการประมาณค่าความสัมพันธ์อย่างมีเงื่อนไขในอุปสงค์การท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศที่ต้องการมาเที่ยวลาวผลการศึกษาเชิงประจักรแสดงให้เห็นถึงการขึ้นอยู่แก่กันของความผันผวนอย่างมีเงื่อนไขของอุปสงค์การท่องเที่ยวในหลายคู่ประเทศ อย่างไรก็ตามผลของการขึ้นอยู่เชิงกันเกิดขึ้นกับทุกประเทศในภูมิภาคอาเซียนทั้งในทางเดีวยกันและในทางตรงกันข้าม ผลการประมาณอุปสงค์การท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวจากประเทศต้นทางแต่ละประเทศด้วยวิธี FMOLS พบว่าระดับรายได้มีอิทธิพลต่ออุปสงค์การท่องเที่ยวของทุกประเทศในทิศทางเดียวกัน สำหรับค่าใช้จ่ายในการท่องเที่ยวมีอิทธิพลต่ออุปสงค์การท่องเที่ยวของประเทศ ไทย สิงคโปร์ ฟีลีปีน และ อินโดนีเซีย ในทิศทางตรงกันข้ามกัน สำหลับระดับค่าใช้จ่ายในการเดินทางมีอิทธิพลในทิศทางเดียวกันมีเพียง สำหรับประเทศฟิลิปปินส์en_US
Appears in Collections:ECON: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf3.38 MBAdobe PDFView/Open


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.