Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39910
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอาจารย์ ดร. อุดมโชค อาษาวิมลกิจ-
dc.contributor.authorสุภาพร ศรีธนัญชัยen_US
dc.date.accessioned2017-08-23T02:57:10Z-
dc.date.available2017-08-23T02:57:10Z-
dc.date.issued2557-12-02-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39910-
dc.description.abstractThe research study on “Providing Public Services in Education for Aliens’ Children at Chumchon Baan Buakkhrok Noi School, Nong Pa Khrang Sub-district, Mueang district, Chiang Mai Province and Thetsaban Wat Pa Phaeng School, Chang Moi sub-district, Mueang district, Chiang Mai Province” aimed to 1) study the standards of providing public services in education for aliens’ children at Chumchon Baan Buakkhrok Noi school, Nong Pa Khrang sub-district, Mueang district, Chiang Mai province and Thetsaban Wat Pa Phaeng school, Chang Moi sub-district, Mueang district, Chiang Mai province, 2) study the number of the offices from government sector that gave support in providing public services in education for aliens’ children at Chumchon Baan Buakkhrok Noi School, Nong Pa Khrang sub-district, Mueang district, Chiang Mai province and Thetsaban Wat Pa Phaeng School, Chang Moi Sub-district, Mueang District, Chiang Mai province, and 3) survey and analyze the causes that motivated parents to send their alien children to study at Chumchon Baan Buakkhrok Noi School, Nong Pa Khrang Sub-district, Mueang District, Chiang Mai province and Thetsaban Wat Pa Phaeng School, Chang Moi Sub-district, Mueang District, Chiang Mai province. The study was qualitative research. The primary subjects were 17 peoples; 9 from Chumchon Baan Buakkhrok Noi School and 8 from Thetsaban Wat Pa Phaeng School. Theresearcher collected data by using non-participant observation, a semi-structured interview, and studying documents related to the above issue. The results indicated that: 1. Providing public services in education for aliens’ children at Chumchon Baan Buakkhrok Noi School had the enrollment system to screen students who had learning problem. Thetsaban Wat Pa Phaeng School did not have the system to scan students who had the problem in their study. The school had remedial class to help them. The school followed standard of public school and Local Administration in teaching students using the basic education core curriculum of the year 2008 from Ministry of Education. Students’ from the two schools might have achievement score lower than the standard. Thetsaban Wat Pa Phaeng School provided alien students a registration of personal record from Ministry of interior. Chumchon Baan Buakkhrok Noi School did not provide the registration to alien students. Parents had to take their children to do the registration by themselves. 2. Government sectors that involved in education were the ministry of education and Chiang Mai Primary Educational Service Area Office 1. The process was slow and they could not give a good care to school because of having many chains of command and have many schools in the control. Size and administration capability affected on providing education to schools in the control. 3. Causes that motivated parents to send their children to study in Chumchon Baan Buakkhrok Noi School and Thetsaban Wat Pa Phaeng School were that the location of the two schools placed near the village and job had the growth in economy. Most parents lived and worked near the school so they bring their children to study in Thai school. Parents also got the recommendation from their friends and acquaintances. Some Parents knew about the rights of sending their children to study in Thai school but some did not. The suggestion from the research is that government sector and local ministration should provide education to aliens that want to continue their study in general and vocational education. They should support talented alien to create the fame to student and schools. Government sector and local ministration should create projects and activities that are benefit to society and give a chance to aliens to participate in those activities in order to create and awareness on living in Thai community.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectโรงเรียนชุมชนบ้านบวกครกน้อยen_US
dc.titleการจัดบริการสาธารณะทางด้านการศึกษาแก่เด็กต่างด้าว ของโรงเรียนชุมชนบ้านบวกครกน้อย ตำบลหนองป่าครั่ง อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ และโรงเรียนเทศบาลวัดป่าแพ่ง ตำบลช้างม่อย อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeProviding Public Services in Education for Aliens’ Children at Chumchon Baan Buakkhrok Noi School, Nong Pa Khrang Subdistrict, Mueang District, Chiang Mai Province and Thetsaban Wat Pa Phaeng School, Chang Moi Sub-district, Mueang District, Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeThesis
thailis.classification.ddc379.593-
thailis.controlvocab.thashโรงเรียนชุมชนบ้านบวกครกน้อย-
thailis.controlvocab.thashคนต่างด้าว -- การศึกษา-
thailis.controlvocab.thashบริการสาธารณะ -- เมือง (เชียงใหม่)-
thailis.controlvocab.thashโรงเรียน -- เมือง (เชียงใหม่)-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 379.593 ส462ก-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยเรือง “การจัดบริการสาธารณะทางด้านการศึกษาแก่เด็กต่างด้าวของโรงเรียนชุมชน บ้านบวกครกน้อย ตำบลหนองป่าครั้ง อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่และโรงเรียนเทศบาลวัดป่าแพ่ง ตำบลช้างม่อย อำเภอเมืองจังหวัดเชียงใหม่” มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาหลักเกณฑ์การจัดทำบริการ สาธารณะทางด้านการศึกษาแก่เด็กต่างด้าวของโรงเรียนชุมชนบ้านบวกครกน้อย ตำบลหนองป่าครั่ง อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ และโรงเรียนเทศบาลวัดป่าแพ่ง ตำบลช้างม่อย อำเภอเมือง จังหวัด เชียงใหม่ 2) ศึกษาถึงหน่วยงานภาครัฐในท้องถิ่นที่มีส่วนร่วมในการจัดบริการสาธารณะทางด้าน การศึกษาของโรงเรียนชุมชนบ้านบวกครกน้อย ตำบลหนองป่าครั่ง อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ และ โรงเรียนเทศบาลวัดป่าแพ่ง ตำบลช้างม่อย อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ และ 3) สำรวจและวิเคราะห์ มูลเหตุจูงใจที่ผู้ปกครองต่างด้าวพาบุตรหลานเข้าศึกษาในโรงเรียนชุมชนบ้านบวกครกน้อย ตำบล หนองป่่าครั่ง อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่และโรงเรียนเทศบาลวัดป่าแพ่ง ตำบลช้างม่อย อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ งานวิจัยชิ้นนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ มีผู้ให้ข้อมูลหลักทั้งหมด จำนวน 17 คน โรงเรียนชุมชน บ้านบวกครกน้อย จำนวน 9 คน และโรงเรียนเทศบาลวัดป่าแพ่ง จำนวน 8 คน โดยใช้เครื่องมือในการ วิจัย คือ การสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม การสัมภาษณ์แบบไม่เป็นทางการ รวมถึงการศึกษาจากเอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ผลการวิจัยพบว่า 1. การจัดบริการสาธารณะทางด้านการศึกษาแก่เด็กต่างด้าวของโรงเรียนชุมชนบ้านบวกครกน้อย มีการคัดกรองนักเรียนที่มีปัญหาทางด้านการเรียนรู้ ส่วนโรงเรียนเทศบาลวัดป่าแพ่งไม่มีการคัดกรอง นักเรียนที่มีปัญหาทางด้านการเรียนรู้ โดยจะใช้วิธีการสอนเสริมเพิ่มเติมให้แก่นักเรียนแทน การเรียนการสอนใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 ของกระทรวงศึกษาธิการ เป็นหลักสูตรหลักที่ใช้สอนในชั้นเรียน ผลการเรียนของเด็กต่างด้าวทั้ง 2 โรงเรียน อาจมีผลการเรียน และผลสัมฤทธิ์ที่ตํ่ากว่าเกณฑ์ในบางวิชา การออกทะเบียนประวัติแก่นักเรียนต่างด้าว มีเพียงโรงเรียน เทศบาลวัดป่าแพ่ง ที่ได้รับการสำรวจและออกทะเบียนประวัติ ส่วนโรงเรียนชุมชนบ้านบวกครกน้อย จะไม่มีการออกทะเบียนประวัติให้แก่เด็กต่างด้าว โดยผู้ปกครองจะพาบุตรหลานไปจัดทำเอง 2. หน่วยงานภาครัฐที่มีส่วนร่วมในด้านการศึกษา กล่าวคือ กระทรวงศึกษาธิการ และ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 1 มีการดำเนินการล่าช้า และการดูแล โรงเรียนในสังกัดอาจไม่ทั่ว ถึงเท่าที่ควร เนื่องจากมีสายบังคับบัญชาหลายลำดับขั้น และมีโรงเรียนใน สังกัดที่ต้องดูแลเป็นจำนวนมาก ส่วนขนาดและความสามารถการบริหารงานของท้องถิ่นมีผลต่อการ จัดการศึกษาแก่โรงเรียนในสังกัดท้องถิ่น 3. มูลเหตุจูงใจของการส่งบุตรหลานผู้เป็นเด็กต่างด้าวเข้าศึกษาในโรงเรียนชุมชนบ้านบวกครน้อย และโรงเรียนเทศบาลวัดป่าแพ่ง มีลักษณะร่วมกันโดยสภาพที่ตั้งของโรงเรียนทั้ง 2 แห่ง อยู่ใกล้แหล่ง ชุมชนและแหล่งของงานที่มีการขยายตัวทางด้านเศรษฐกิจ ผู้ปกครองต่างด้าวส่วนใหญ่ทำงานและ พักอาศัยอยู่ใกล้โรงเรียนจึงพาบุตรหลานเข้าศึกษาในโรงเรียนของประเทศไทย รวมถึงเกิดจากการ บอกกล่าว แนะนำจากผู้ปกครอง ญาติ หรือเพื่อนที่นำบุตรหลานเข้าศึกษาโรงเรียนนั้น โดยผู้ปกครอง ต่างด้าว มีผู้ที่ทราบและไม่ทราบถึงสิทธิในการนำบุตรหลานเข้าศึกษาในโรงเรียนของประเทศไทย ข้อเสนอแนะจากงานวิจัยชิ้นนี้คือ รัฐและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นควรจัดการศึกษาแก่ เด็กต่างด้าวที่ต้องการศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น กล่าวคือ สายอาชีพและสายสามัญ ทำการสนับสนุน ส่งเสริมความสามารถพิเศษของเด็กต่างด้าวให้เป็นเลิศ เพื่อสร้างชื่อเสียงแก่เด็กและสถาบันการศึกษา รัฐและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นควรจัดโครงการและกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมให้เด็กต่างด้าว ได้มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมดังกล่าว เพื่อเป็นการปลูกจิตสำนึกที่ดีให้แก่เด็กต่างด้าวในการอยู่ ร่วมกันในสังคมไทยen_US
Appears in Collections:POL: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full.pdf2.17 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.