Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39836
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorฤตินันท์ สมุทร์ทัย-
dc.contributor.advisorศักดา พรึงลำภู-
dc.contributor.authorอาภาพร อวดผลen_US
dc.date.accessioned2016-12-12T15:07:53Z-
dc.date.available2016-12-12T15:07:53Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttp://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39836-
dc.description.abstractThe objectives of this study were to investigate health behaviors, mental health and stress of female students residing in dormitories of Chiang Mai University. There were 378 female students recruited in this study. Most of them had age in range 17 - 19 years old (64.18%) and studied in the first year of education (61.4%). The highest percentage of them (50.79 %.) studied in the faculties of humanities and social sciences. Instruments used in this study were health behaviors questionnaire and mental health assessment. Descriptive statistics was used to analyze the data including frequency, percentage, mean, standard deviation and the estimations of percentage and mean of population. The results showed that most of female students residing in dormitories of Chiang Mai University consumed foods for three meals. Their favorite meal was lunch. They preferred spicy food and they liked to buy foods from cafeterias in the university. Regarding these behaviors, the estimated percentages of the population with a confidence level of 95% were 64.64 to 73.98, 61.62 to 71.19, 56.99 to 66.82 and 77.83 to 85.66 respectively. The levels of practicing for food consumption and exercise of the students were good (with average scores at 2.57 and 2.98 respectively). They had relaxation period by sleeping or napping. For their mental health, the data showed that 60.60% of the students had mental health as general and 45.24% of them had stress at a low level. They managed their stress by reading books, novels, series, journals and cartoons.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectพฤติกรรมสุขภาพen_US
dc.subjectสุขภาพจิตen_US
dc.subjectความเครียดen_US
dc.subjectนักศึกษาหญิงen_US
dc.subjectหอพักen_US
dc.titleพฤติกรรมสุขภาพ สุขภาพจิตและความเครียดของนักศึกษาหญิงที่พักในหอพักของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeHealth behaviors, mental health and stress of female students residing in dormitories of Chiang Mai Universityen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc613-
thailis.controlvocab.thashมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ -- นักศึกษา-
thailis.controlvocab.thashสุขภาวะ-
thailis.controlvocab.thashนักศึกษา -- สุขภาพจิต-
thailis.controlvocab.thashความเครียด-
thailis.controlvocab.thashนักศึกษา -- เชียงใหม่-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 613 อ262พ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการสุขภาพ สุขภาพจิต และการจัดการความเครียดของนักศึกษาหญิงที่พักในหอพักของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา คือ นักศึกษาหญิง จำนวน 378 คน กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ มีอายุอยู่ในช่วงอายุ 17 - 19 ปี (ร้อยละ64.18) และ ศึกษาอยู่ในชั้นปีที่ 1(ร้อยละ 61.40) ร้อยละที่มากที่สุดของกลุ่มตัวอย่าง (50.79%) ศึกษาอยู่ ใน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ แบบสอบถามพฤติกรรมสุขภาพ และแบบประเมินพฤติกรรมสุขภาพจิต วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา ประกอบด้วยความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ การประมาณค่าร้อยละและค่าเฉลี่ยของประชากร ผลการศึกษา พบว่า นักศึกษาหญิงที่พักในหอพักของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ส่วนใหญ่บริโภคอาหารครบ 3 มื้อ โดยมื้อกลางวันจะบริโภคมากที่สุด ชอบทานอาหารรสเผ็ด และซื้ออาหารจากโรงอาหารภายในของมหาวิทยาลัย โดยพฤติกรรมเหล่านี้มีช่วงการประมาณค่าร้อยละของประชากรที่ระดับความเชื่อมั่นที่ 95% เท่ากับ 64.64 - 73.98, 61.62 - 71.19, 56.99 - 66.82 และ77.83 - 85.66 ตามลำดับ และมีระดับการปฏิบัติด้านการบริโภคอาหารและการออกกำลังกายโดยรวมอยู่ในระดับดี (มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 2.57 และ 2.98 ตามลำดับ) นักศึกษามีช่วงการพักผ่อนโดยการนอนหลับ หรืองีบหลับ สำหรับพฤติกรรมด้านสุขภาพจิต พบว่านักศึกษาส่วนใหญ่คือ ร้อยละ 60.60 มีสุขภาพจิตเท่ากับ คนทั่วไป และร้อยละ45.24 ของนักศึกษามีความเครียดอยู่ในระดับน้อย นักศึกษามีวิธีจัดการความเครียดโดยการอ่านหนังสือ นิยาย ซีรีย์ วารสาร และ การ์ตูน เป็นต้นen_US
Appears in Collections:GRAD-Sciences and Technology: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.pdfABSTRACT149.2 kBAdobe PDFView/Open
APPENDIX.pdfAPPENDIX486.46 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 1.pdfCHAPTER 1186.33 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 2.pdfCHAPTER 2382.37 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 3.pdfCHAPTER 3205.33 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 4.pdfCHAPTER 4306.32 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 5.pdfCHAPTER 5221.5 kBAdobe PDFView/Open
CONTENT.pdfCONTENT211.61 kBAdobe PDFView/Open
COVER.pdfCOVER692.17 kBAdobe PDFView/Open
REFERENCE.pdfREFERENCE252.99 kBAdobe PDFView/Open


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.