Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39821
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชูศรี เที้ยศิริเพชร-
dc.contributor.authorลักขณา หนูมีen_US
dc.date.accessioned2016-12-12T14:17:15Z-
dc.date.available2016-12-12T14:17:15Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttp://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39821-
dc.description.abstractThe purpose of this independent study is to study knowledge and understanding of accountants of Real Estate Business in Mueang Chiang Mai District about Thai Accounting Standard No.18 (Revised 2009) with respect to Incomes related to Real Estate Business, collecting data from questionnaires given to samples of accountants and those participating in bookkeeping of Real Estate Business in Mueang Chiang Mai District, totaling 50 persons, studying on main points related to recognition of incomes, value measurement and disclosure of information. The data was analyzed in statistical way using frequency, percentage and mean. The study result revealed that most of respondents are female, aged during 26-30 years, graduated highest education at bachelor degree in accounting field, position of accounting staff, with 3-5 year experience in bookkeeping in property development business. The study result revealed that most of respondents with knowledge and understanding on the accounting standard in low level, accounted for 50.10%, having most knowledge and understanding on meaning of disclosure of information, followed by valuation by fair value in case of agreement on purchase-sale and ownership transfer, and meaning of recognition of incomes in whole amount respectively. The respondents with incorrect understanding on the accounting standard, accounted for 49.90%, in the lowest level, having incorrect knowledge and understanding on basis for recognition of incomes most in the point related to retrospective restatement after change of the approach of incomes recognition, followed by the meaning of fair value and objective of disclosure of information in the notes to the financial statements respectively. Upon consideration on the respondents classified by ages, it is found that the respondents aged 31 years up had knowledge and understanding in low level, having most understanding and knowledge on the meaning of disclosure of information in the notes to the financial statements. The respondents aged 20-30 years are the ones having knowledge and understanding on the accounting standard in the lowest level, having incorrect knowledge and understanding on the basis for recognition of incomes in the point related to account recording as at the date of contract making and date of payment of each installment. Upon consideration on the respondents classified by job positions, it is found that the respondents in the post of manager or chief accountant had knowledge and understanding in moderate level, having most understanding and knowledge on the basis for disclosure of information on the objectives and important information to be disclosed to those who use the financial statements in the notes to the financial statements. The respondents in the post of accountant had incorrect knowledge and understanding on the accounting standard with respect to basis for recognition of incomes in the point related to account recording as at the date of contract making, date of payment of each installment and retrospective restatement after change of the approach of incomes recognition. And upon consideration on the respondents classified by work experiences, it is found that the respondents with work experience more than 5 years had knowledge and understanding in low level, having most understanding and knowledge on the basis for disclosure of information in the point related to the meaning of disclosure of information in the notes to the financial statements. The respondents with work experience 1- 5 years are the ones who had incorrect knowledge and understanding on the accounting standard with respect to basis for recognition of incomes in the point related to account recording as at the date of reservation, date of contract making, date of payment of each installment.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectนักบัญชีen_US
dc.subjectอสังหาริมทรัพย์en_US
dc.subjectมาตรฐานการบัญชีen_US
dc.subjectรายได้en_US
dc.titleความรู้และความเข้าใจของนักบัญชีธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ในอำเภอเมืองเชียงใหม่ต่อมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 18 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง รายได้en_US
dc.title.alternativeKnowledge and understanding of accountants of real estate businesses in Amphoe Mueang Chiang Mai about Thai accounting standards No. 18 (revised 2009), revenueen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc657.092-
thailis.controlvocab.thashนักบัญชี-
thailis.controlvocab.thashการบัญชี -- มาตรฐาน-
thailis.controlvocab.thashอสังหาริมทรัพย์ -- เชียงใหม่-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 657.092 ล111ค-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ให้รู้ถึงความรู้ความเข้าใจของนักบัญชีธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ในอำเภอเมืองเชียงใหม่ ต่อมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 18 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง รายได้เกี่ยวกับธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ โดยเก็บรวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถามกลุ่มตัวอย่างนักบัญชี หรือผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการจัดทำบัญชีของธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ในอำเภอเมืองเชียงใหม่ จำนวน 50 ราย โดยทำการศึกษาถึงประเด็นสำคัญเกี่ยวกับเกณฑ์การรับรู้รายได้ การวัดมูลค่า และการเปิดเผยข้อมูล ทำการวิเคราะห์ผลทาสถิติ โดยใช้ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ และค่าเฉลี่ย ผลการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 26-30 ปี จบการศึกษาสูงสุดในระดับปริญญาตรี สาขาวิชาการบัญชี ในตำแหน่งพนักงานบัญชี และมีประสบการณ์ในการทำงานด้านการจัดทำบัญชีกับธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์เป็นระยะเวลา 3-5 ปี ผลการศึกษา พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีความรู้ความเข้าใจต่อมาตรฐานการบัญชีมีค่าเฉลี่ยรวมร้อยละ 50.10 อยู่ในเกณฑ์ระดับน้อย มีความรู้ความเข้าใจมากที่สุดเกี่ยวกับความหมายของการเปิดเผยข้อมูล รองลงมาเกี่ยวกับการตีราคาตามมูลค่ายุติธรรมกรณีเมื่อมีการตกลงซื้อขายและโอนกรรมสิทธิ์ และความหมายของการรับรู้รายได้ทั้งจำนวน ตามลำดับและ ผู้ตอบแบบสอบถาม มีความรู้ความเข้าใจไม่ถูกต้องต่อมาตรฐานการบัญชี คิดเป็นร้อยละ 49.90 อยู่ในเกณฑ์ระดับน้อยที่สุด โดยมีความรู้ความเข้าใจไม่ถูกต้องต่อเกณฑ์การรับรู้รายได้มากที่สุดในประเด็นเกี่ยวกับ การปรับปรุงงบการเงินย้อนหลังภายหลังการเปลี่ยนวิธีการรับรู้รายได้ รองลงมาเกี่ยวกับความหมายของมูลค่ายุติธรรม และวัตถุประสงค์ของการเปิดเผยข้อมูลในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ตามลำดับ เมื่อพิจารณา ผู้ตอบแบบสอบจำแนกตามอายุ พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามอายุ 31 ปีขึ้นไปมีความรู้ความเข้าใจอยู่ในเกณฑ์ระดับน้อย โดยมีความรู้ความเข้าใจมากที่สุดในเรื่องเกี่ยวกับความหมายของการเปิดเผยข้อมูลในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ส่วนผู้ตอบแบบสอบถามอายุ 20-30 ปี เป็นกลุ่มที่มีความรู้ความเข้าใจต่อมาตรฐานการบัญชีอยู่ในเกณฑ์ระดับน้อยที่สุด โดยมีความรู้ความเข้าใจไม่ถูกต้องต่อเกณฑ์การรับรู้รายได้ ในประเด็นเกี่ยวกับการบันทึกบัญชี ณ วันทำสัญญา และ วันรับชำระเงินค่างวด เมื่อพิจารณาผู้ตอบแบบสอบถามจำแนกตามตำแหน่งงาน พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามตำแหน่งผู้จัดการหรือสมุห์บัญชี มีความรู้ความเข้าใจ อยู่ในเกณฑ์ระดับปานกลาง โดยมีความรู้ความเข้าใจมากที่สุดต่อเกณฑ์การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ และข้อมูลสำคัญที่จะต้องมีการเปิดเผยให้กับผู้ใช้งบการเงินได้ทราบในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ส่วนผู้ตอบแบบสอบถามตำแหน่งพนักงานบัญชี มีความรู้ความเข้าใจไม่ถูกต้องต่อมาตรฐานการบัญชี เกี่ยวกับการบันทึกบัญชี ณ วันทำสัญญา วันรับชำระเงินค่างวด และการปรับปรุงงบการเงินย้อนหลังภายหลังการเปลี่ยนวิธีการรับรู้รายได้ และเมื่อพิจาณาผู้ตอบแบบสอบถามจำแนกตามประสบการณ์ทำงาน พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามที่มีประสบการณ์ทำงานมากกว่า 5 ปี มีความรู้ความเข้าใจอยู่ในเกณฑ์ระดับน้อย โดยมีความรู้ความเข้าใจมากที่สุดต่อเกณฑ์การเปิดเผยข้อมูลในประเด็นเกี่ยวกับความหมายของการเปิดเผยข้อมูลในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ส่วนผู้ตอบแบบสอบถามที่มีประสบการณ์ในการทำงาน 1-5 ปี เป็นกลุ่มที่มีความรู้ความเข้าใจไม่ถูกต้องต่อมาตรฐานการบัญชี โดยมีความรู้ความเข้าใจไม่ถูกต้องต่อเกณฑ์การรับรู้รายได้ ในประเด็นเกี่ยวกับการบันทึกบัญชี ณ วันจอง วันทำสัญญา และวันรับชำระเงินค่างวดen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.pdfABSTRACT184.45 kBAdobe PDFView/Open
APPENDIX.pdfAPPENDIX515.67 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 1.pdfCHAPTER 1255.91 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 2.pdfCHAPTER 2324.01 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 3.pdfCHAPTER 3265.85 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 4.pdfCHAPTER 4570.82 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 5.pdfCHAPTER 5326.97 kBAdobe PDFView/Open
CONTENT.pdfCONTENT250.63 kBAdobe PDFView/Open
COVER.pdfCOVER693.57 kBAdobe PDFView/Open
REFERENCE.pdfREFERENCE220.59 kBAdobe PDFView/Open


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.