Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39782
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธเนศ ศรีวิชัยลำพันธ์-
dc.contributor.advisorนัทมน คงเจริญ-
dc.contributor.authorพันธ์นริศร์ เธียรธนาการen_US
dc.date.accessioned2016-12-12T12:43:08Z-
dc.date.available2016-12-12T12:43:08Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttp://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39782-
dc.description.abstractThe research aims to study the impact of the 300-Baht minimum wage policy on small business entrepreneurs and labors. It focuses on problems relating implementation of the policy by small entrepreneurships in the municipal area called Chang Peuak, Muang Chiang Mai District, Chiang Mai Province. In this research, the Quantitative model-based is used. The data was collected by questionnaires of 2 sample groups, 170 small business entrepreneurs in Chang Peuak and 197 labors. The results are summarized as follows: 1. The study overview and employment condition in Chang Peuak, Muang District, Chiang Mai Province showed that local entrepreneurs are majority-owned restaurants, hotels, apartments and dormitories. The business model is one registered owner which has run for 5–10 years, with up to 50,000 Baht capitals. The average monthly income is up to 50,000 Baht. The wages are paid both monthly and daily. They employ up to 5 people, mainly Thais. For the workforce/labor data found that the sample of labors are mainly Thais who have been working in Chang Peuak for a period up to 5 years. The migrant labors are mostly from Burmese with up to 5 years working in Thailand. The type of company business they currently work for is the construction with allowance up to 9,000 Baht per month. 2. The study of the impact in the 300-Baht minimum wage policy found that the majority of entrepreneurs are primary affected in investing and operating in business. It has influenced the investment in operation of entrepreneurs/business-based/ and branch expansion. The secondary effect concerns the production cost. These entail increase of the costs of labor and transportation. The price of raw materials in manufacturing/services, public utilities and welfare have also increased which affect to the bonus/ extra compensation/ overtime paid to labors. On the impact of labor, the study found that labors’ workload has increased because the entrepreneurs have to reduce the number of employees. The need of workload increased but bonus paid decreased. For the cost of living, the labors have been affected in the rise of utility bills, followed by the cost of traveling and the rise of expenses for raising their children, grandchildren, parents and who those need care, respectively. 3. Problems and barriers in implementing the 300-Baht minimum wage policy to entrepreneur concern increasing cost of raw materials, tools and office equipment which make entrepreneurs bear the burden of higher production cost. Some entrepreneurs are recruiting employees which are still in the process of training and work in a certain period. As a result, the 300 Baht minimum wage cannot be practically implemented right away. Therefore entrepreneurs have to reduce the welfare which entailed dissatisfaction and lack of motivation to work.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectค่าแรงขั้นต่ำen_US
dc.subjectธุรกิจขนาดย่อมen_US
dc.titleผลกระทบของนโยบายค่าแรงขั้นต่ำ 300 บาท ต่อธุรกิจขนาดย่อม ในเขตเทศบาลตำบลช้างเผือก อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeImpact of 300 Baht minimum wage policy to small business in Chang Puak Minicipality, Mueang Chiang Mai District, Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)-
thailis.classification.ddc331.8-
thailis.controlvocab.thashนโยบายแรงงาน -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashธุรกิจขนาดย่อม-
thailis.controlvocab.thashค่าจ้างกับแรงงาน-
thailis.controlvocab.thashค่าจ้างขั้นต่ำ-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 331.8 พ115ผ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาวิจัย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพทั่วไปของผู้ประกอบการธุรกิจขนาดย่อมและผู้ใช้แรงงาน ผลกระทบจากนโยบายค่าแรงขั้นต่ำ 300 บาท มาปฏิบัติ และศึกษาปัญหาและอุปสรรคของการนำนโยบายค่าแรงขั้นต่ำ 300 บาท มาปฏิบัติของผู้ประกอบการธุรกิจขนาดย่อม ในเขตเทศบาลตำบลช้างเผือก อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ รูปแบบการวิจัยเป็นเชิงปริมาณ ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มผู้ประกอบการธุรกิจรายย่อยในเขตเทศบาลตำบลช้างเผือก จำนวน 170 ราย และกลุ่มผู้ใช้แรงงาน จำนวน 197 ราย ผลการศึกษาสรุปได้ ดังนี้ 1) ผลการศึกษาข้อมูลทั่วไป และสภาพการจ้างงานของผู้ประกอบการในเขตเทศบาลตำบลช้างเผือก อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ ส่วนใหญ่เป็นเจ้าของกิจการ ดำเนินกิจการประเภทภัตตาคาร ร้านอาหาร โรงแรม อพาร์ทเม้น หอพัก รูปแบบธุรกิจเป็นแบบเจ้าของคนเดียว จดทะเบียนพาณิชย์ ดำเนินกิจการมาเป็นระยะเวลา 5–10 ปี มีทุนแรกเริ่มไม่เกิน 50,000 บาท รายได้หมุนเวียนเฉลี่ยต่อเดือนไม่เกิน 50,000 บาท มีการจ่ายค่าจ้างให้แก่ลูกจ้างเป็นทั้งรายเดือนและรายวัน มีลูกจ้างไม่เกิน 5 คน และแรงงานส่วนใหญ่เป็นแรงงานไทย สัญชาติไทยโดยกำเนิด ในส่วนข้อมูลของผู้ใช้แรงงาน/ลูกจ้าง พบว่า กลุ่มตัวอย่างผู้ใช้แรงงานส่วนใหญ่เป็นแรงงานไทย ทำงานในสถานประกอบการในเขตเทศบาลตำบลช้างเผือก มาเป็นระยะเวลาไม่เกิน 5 ปี และในส่วนที่เป็นแรงงานต่างด้าว ส่วนใหญ่เป็นแรงงานสัญชาติพม่า เดินทางเข้ามาทำงานในประเทศไทย ไม่เกิน 5 ปี ประเภทของสถานประกอบการที่ทำงานอยู่ในปัจจุบัน คือ กิจการรับเหมาก่อสร้าง ได้รับค่าจ้างเป็นแบบรายเดือน ไม่เกิน 9,000 บาท 2) ผลการศึกษาผลกระทบจากนโยบายค่าแรงขั้นต่ำ 300 บาท พบว่า สถานประกอบการส่วนใหญ่ได้รับผลกระทบด้านการลงทุนและการดำเนินกิจการเป็นลำดับแรก โดยมีผลต่อจำนวนเงินทุนในการดำเนินกิจการ การขยายกิจการ/ฐานธุรกิจ/ขยายสาขา รองลงมาคือ ด้านต้นทุนการผลิต มีผลให้ค่าใช้จ่ายที่เป็นค่าแรงงาน และค่าขนส่งเพิ่มขึ้น ค่าวัตถุดิบในการผลิต/การให้บริการ ค่าระบบสาธารณูปโภคในสถานประกอบการเพิ่มขึ้น และด้านสวัสดิการมีผลต่อการจ่ายโบนัส/ค่าตอบแทนพิเศษ การจ่ายค่าทำงานล่วงเวลาให้แก่ลูกจ้าง เป็นต้น ในส่วนผลกระทบต่อผู้ใช้แรงงาน พบว่า ด้านการทำงานมีผลให้ผู้ใช้แรงงานต้องได้รับหน้าที่และภาระงานเพิ่มมากขึ้น สถานประกอบการได้ลดจำนวนลูกจ้างลง ทำให้ต้องทำงานมากขึ้น และได้รับเงินโบนัสจากการทำงานลดลง ด้านการดำรงชีพ พบว่า ผู้ใช้แรงงานได้รับผลกระทบเกี่ยวกับค่าสาธารณูปโภคเพิ่มสูงขึ้น รองลงมาคือ มีค่าใช้จ่ายสำหรับการเดินทางมาทำงานเพิ่มขึ้น และมีค่าใช้จ่ายสำหรับการเลี้ยงดูบุตร หลาน ผู้ปกครอง ผู้ที่อยู่ในการดูแลเพิ่มขึ้น ตามลำดับ 3) ปัญหาและอุปสรรคของการนำนโยบายค่าแรงขั้นต่ำ 300 บาท มาปฏิบัติต่อผู้ประกอบการ พบว่า ราคาวัสดุดิบ อุปกรณ์ เครื่องมือการทำงานฯลฯ มีราคาสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทำให้ผู้ประกอบการแบกรับภาระด้านต้นทุนการผลิต สถานประกอบการบางแห่งกำลังรับพนักงานเข้าทำงาน ยังอยู่ในขั้นตอนการฝึกงาน และลักษณะการทำงานเป็นแบบบางช่วงเวลา มีผลให้การขึ้นค่าแรงขั้นต่ำ 300 บาท ยังไม่สามารถนำมาปฏิบัติได้ทันที อีกทั้งในด้านสวัสดิการ ซึ่งผู้ประกอบการจำเป็นต้องปรับลดสวัสดิการลง เพื่อลดต้นทุนการผลิตของกิจการ มีผลให้พนักงานเกิดความไม่พึงพอใจ และขาดแรงจูงใจในการทำงาน เป็นต้นen_US
Appears in Collections:SOC: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.pdfABSTRACT174.13 kBAdobe PDFView/Open
APPENDIX.pdfAPPENDIX587.79 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 1.pdfCHAPTER 1310.14 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 2.pdfCHAPTER 2467.98 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 3.pdf CHAPTER 3274.66 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 4.pdfCHAPTER 4573.21 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 5.pdf CHAPTER 5248.81 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CONTENT.pdf CONTENT168.96 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
COVER.pdfCOVER674.54 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
REFERENCE.pdf REFERENCE316.76 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.