Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39777
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชูศรี เที้ยศิริเพชร-
dc.contributor.authorกรวิภา ปัญญาคำen_US
dc.date.accessioned2016-12-12T12:30:04Z-
dc.date.available2016-12-12T12:30:04Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttp://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39777-
dc.description.abstractThe purpose of this independent study was to study the Problems in Accounting of Sub district Administrative Organization in Chiang Mai. The method of study is the questionnaires distribution to 113 groups of example and 94 (83.19%) of them were returned to the researcher. Those data collected via the questionnaires were taken into analysis by usingdescriptive statistic. The problems are divided into 4 aspects as following problem in Accounting, Procurement, Revenue Collection and Disbursement. It was found that problems in accounting had major problem from the number of employees in the preparation of the accounts are not enough and minor problem from financial statements are invalid, incomplete and non-current. Problems of Procurement are found that the highest level problem is there was no appointed stockmen who monitor annual inventory checking and count supplies at the end of the period. Moreover, there were no reports to administrator within thirty days. The high level problem is there was no error checking prior retention money. Problem of revenue collection is at moderate level. For the disbursement problem, found that the expenditure plan was not report to division of finance for total expenditure plan. The study classified by level of education from questionnaires found that the higher bachelor degree level with long accounting experience have the most problem. Those accounting problems are financial statements were not presented to district-chief officer at the end of the period, financial statements were not reconciliation to bank statement due to unable to check bank balance. Procurement problems were no error checking prior deposit back to contractors, and the material requisition was not report to chief officer including material requisition was not collected. The respondents were classified by knowledge of accounting system of district office at high level; problem in accounting with incorrect financial statements method.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectบัญชีen_US
dc.subjectองค์การบริหารส่วนตำบลen_US
dc.titleปัญหาการจัดทำบัญชีขององค์การบริหารส่วนตำบล ในจังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeProblems in accounting of Sub-District administrative organizations in Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc657-
thailis.controlvocab.thashองค์การบริหารส่วนตำบล -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashการบัญชี-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 657 ก177ป-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาการจัดทำบัญชีขององค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดเชียงใหม่จากการศึกษาครั้งนี้ได้เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่าง 113 ราย และได้รับการตอบแบบสอบถามทั้งสิ้น 94 ราย คิดเป็นร้อยละ 83.19 และนำมาประมวลผลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาซึ่งแบ่งปัญหาการจัดทำบัญชีออกเป็น 4 ด้าน ได้แก่ ปัญหาด้านการจัดทำบัญชี ด้านการพัสดุ ด้านการจัดเก็บรายได้ และด้านการเบิกจ่าย ผลการศึกษาพบว่าปัญหาด้านการจัดทำบัญชี ได้แก่ องค์การบริหารส่วนตำบลมีจำนวนพนักงานไม่เพียงพออยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมาได้แก่ การจัดทำงบการเงิน ทะเบียนต่าง ๆ ไม่ถูกต้อง ครบถ้วน และไม่เป็นปัจจุบัน ปัญหาด้านการพัสดุพบว่าไม่ได้แต่งตั้งเจ้าหน้าที่ในการตรวจสอบการรับจ่ายพัสดุประจำปี และตรวจนับพัสดุคงเหลือ ณ วันสิ้นงวด ไม่ได้รายงานผลการตรวจสอบพัสดุประจำปีให้ผู้บริหารทราบภายใน 30 วันมากที่สุด รองลงมาคือไม่มีการตรวจสภาพความชำรุดบกพร่องก่อนคืนเงินประกันสัญญาส่วนปัญหาด้านการจัดเก็บรายได้พบว่าอยู่ในระดับปานกลาง และปัญหาด้านการเบิกจ่ายพบปัญหาเจ้าหน้าที่ไม่ได้จัดทำแผนการใช้จ่ายเงินยื่นต่อหน่วยงานคลังเพื่อรวบรวมจัดทำเป็นแผนการใช้จ่ายเงินรวม เมื่อแยกตามกลุ่มผู้ตอบแบบสอบถามพบว่าผู้ที่มีการศึกษาสูงกว่าปริญญาตรี และมีประสบการณ์การทำงานนานมีปัญหาการจัดทำบัญชีในระดับมาก ปัญหาด้านการจัดทำบัญชี ได้แก่ ไม่ได้นำเสนองบการเงิน ณ วันสิ้นเดือนให้นายอำเภอตามระเบียบ นอกจากนี้ยังจัดทำงบการเงิน ณ วันสิ้นปีไม่ถูกต้อง รวมถึงไม่ได้กระทบยอดเงินฝากธนาคารทำให้ตรวจสอบยอดเงินฝากธนาคารไม่ได้ ส่วนปัญหาด้านการพัสดุ ได้แก่ไม่ได้ตรวจสอบความชำรุดบกพร่องของงานก่อนคืนเงินมัดจำประกันสัญญาให้แก่ผู้รับจ้าง และการเบิกจ่ายพัสดุไม่ได้จัดทำใบเบิกพัสดุให้หัวหน้าหน่วยงานผู้ควบคุมพัสดุเป็นผู้สั่งจ่าย รวมทั้งผู้จ่ายพัสดุไม่ได้เก็บใบเบิกพัสดุไว้เป็นหลักฐานส่วนผู้ตอบแบบสอบถามแยกตามกลุ่มผู้ที่มีความรู้ความเข้าใจในระบบบัญชีขององค์การบริหารส่วนตำบลมีปัญหาในระดับมาก ได้แก่ปัญหาด้านการจัดทำบัญชี โดยไม่มีการจัดทำงบการเงินอย่างถูกต้องen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.pdfABSTRACT250.47 kBAdobe PDFView/Open
APPENDIX.pdfAPPENDIX344.4 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 1.pdf CHAPTER 1269.92 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 2.pdf CHAPTER 2317.65 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 3.pdfCHAPTER 3254.8 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 4.pdfCHAPTER 4881.71 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 5.pdfCHAPTER 5209.59 kBAdobe PDFView/Open
CONTENT.pdfCONTENT279.83 kBAdobe PDFView/Open
COVER.pdfCOVER322.14 kBAdobe PDFView/Open
REFERENCE.pdfREFERENCE228.02 kBAdobe PDFView/Open


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.