Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39721
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรลัญจก์ บุณยสุรัตน์-
dc.contributor.authorมนัสวัฑฒก์ ชุติมาen_US
dc.date.accessioned2016-12-08T09:41:49Z-
dc.date.available2016-12-08T09:41:49Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttp://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39721-
dc.description.abstractThe Study of “The Management Plan for “Baan Teuk” Luang Anusarnsoonthorn Building Compound, Chiang Mai as Historical Monument and Learning Museum." aims to study historical background and significant value of “Baan Teuk” as well as relevant historical context to present potential and readiness of “Baan Teuk”. Also, there are to present proper form and technic in managing "Baan Teuk" as historical monument and learning museum. By using tools in collecting data such as non-structured interview and field studies by analyzing historical background, location and physical setting, type and building details, condition and usage of buildings in the past and the present and relevant objects with those buildings to organize data and analyze to present potential of “Baan Teuk” in presenting management form as historical monument and learning museum. This study has found that “Baan Teuk” has potential in location, historical value, aesthetic value, scientific value and social value. Moreover, atmosphere and environment of historical building compound make storytelling and museum exhibition more interesting. The management technic to make “Baan Teuk” as historical monument and learning museum consist of 3 elements. First, the renovation process of 5 old buildings to become a historical monument. Second, the exhibition at “Teuk Luang”, to exhibit in building and atmosphere renovation, exhibition topic design, theme design, exhibition story board, exhibition design and using modern technology and media in presentation to achieve the goal of being historic monument of Luang Anusarnsoonthorn and learning museum about Chiang Mai in the beginning of capitalism. Third, the administrative structure of the historical monument and learning museum.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectอาคารบ้านen_US
dc.subjectอนุสรณ์สถานen_US
dc.subjectพิพิธภัณฑ์en_US
dc.titleการจัดการ “บ้านตึก” กลุ่มอาคารบ้านหลวงอนุสารสุนทรจังหวัดเชียงใหม่ ให้เป็นอนุสรณ์สถานและพิพิธภัณฑ์เพื่อการเรียนรู้en_US
dc.title.alternativeThe Management plan for “Baan Teuk” Luang Anusarnsoonthorn Building Compound, Chiang Mai, as historical monument and learning museumen_US
dc.typeThesis
thailis.classification.ddc069.0959362-
thailis.controlvocab.thashพิพิธภัณฑ์ -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashอาคารบ้านหลวงอนุสารสุนทร (เชียงใหม่)-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 069.0959362 ม1511ก-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractวิทยานิพนธ์เรื่อง “การจัดการ “บ้านตึก” กลุ่มอาคารบ้านหลวงอนุสารสุนทรจังหวัดเชียงใหม่ ให้เป็นอนุสรณ์สถานและพิพิธภัณฑ์เพื่อการเรียนรู้” มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบริบทเกี่ยวกับประวัติความเป็นมา ลักษณะทางกายภาพ และสถาปัตยกรรม ตลอดจนคุณค่าความสาคัญ รวมทั้งศักยภาพและความพร้อมของ “บ้านตึก” กลุ่มอาคารบ้านของหลวงอนุสารสุนทร ในการจัดตั้งเป็นอนุสรณ์สถานและพิพิธภัณฑ์เพื่อการเรียนรู้ของ “บ้านตึก” กลุ่มอาคารบ้านของหลวงอนุสารสุนทร อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อเสนอรูปแบบและวิธีการที่เหมาะสมในการจัดการ “บ้านตึก” ให้เป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์และพิพิธภัณฑ์เพื่อการเรียนรู้ ใช้วิธีการศึกษาทั้งภาคเอกสารและภาคสนาม โดยการสารวจทางกายภาพ สังเกตการณ์ และสัมภาษณ์ เพื่อเก็บข้อมูลประวัติความเป็นมา ที่ตั้ง ลักษณะทางกายภาพ และองค์ประกอบทางศิลปะสถาปัตยกรรมของกลุ่มอาคารบ้านหลวงอนุสารสุนทรและวิเคราะห์ให้เห็นถึงศักยภาพและความพร้อมในการจัดการให้เป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์และพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้ ผลการศึกษาพบว่า “บ้านตึก” มีศักยภาพทั้งในด้านทาเลที่ตั้ง มีคุณค่าทางประวัติศาสตร์ ความงาม วิทยาศาสตร์ และสังคม โดยบรรยากาศและสภาพแวดล้อมของกลุ่มอาคารทางประวัติศาสตร์ มีส่วนช่วยเสริมเรื่องราวในการจัดการเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์และพิพิธภัณฑ์เพื่อการเรียนรู้ได้ดียิ่งขึ้น การจัดการ “บ้านตึก” ให้เป็นอนุสรณ์สถานและพิพิธภัณฑ์เพื่อการเรียนรู้ มี 3 ส่วนในการนาเสนอ ได้แก่ ส่วนที่ 1 เสนอการอนุรักษ์ปรับปรุงอาคารและสถานที่กลุ่มอาคารทั้ง 5 หลังให้เป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์ ส่วนที่ 2 ได้เลือก “ตึกหลวง” เป็นอาคารพิพิธภัณฑ์เพื่อการเรียนรู้ และการกาหนดหัวข้อเรื่องจัดแสดง การจัดแนวทางของเรื่องการเขียนบทนิทรรศการ การออกแบบการจัดแสดง และการใช้สื่อเทคโนโลยีในการนาเสนอเรื่องราวเกี่ยวกับเมืองเชียงใหม่ในช่วงกาเนิดทุนนิยม ส่วนที่ 3 เสนอโครงสร้างการบริหารจัดการอนุสรณ์สถานและพิพิธภัณฑ์เพื่อการเรียนรู้ดังกล่าวen_US
Appears in Collections:GRAD-Humanities and Social Sciences: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.pdfABSTRACT286.43 kBAdobe PDFView/Open
APPENDIX.pdf APPENDIX417.83 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 1.pdfCHAPTER 1268.65 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 2.pdfCHAPTER 2777.62 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 3.pdf CHAPTER 3371.07 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 4.pdf CHAPTER 42.88 MBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 5.pdfCHAPTER 53.28 MBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 6.pdf CHAPTER 6292.62 kBAdobe PDFView/Open
CONTENT.pdf CONTENT333.01 kBAdobe PDFView/Open
COVER.pdfCOVER461.36 kBAdobe PDFView/Open
REFERENCE.pdf REFERENCE354.31 kBAdobe PDFView/Open


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.