Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39541
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | รองศาสตราจารย์อรพิณ สันติธีรากุล | - |
dc.contributor.author | เพ็ญนภา บัวพา | en_US |
dc.date.accessioned | 2016-09-28T03:16:28Z | - |
dc.date.available | 2016-09-28T03:16:28Z | - |
dc.date.issued | 2558-08 | - |
dc.identifier.uri | http://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39541 | - |
dc.description.abstract | The objective of this research was to study motivation factors of operational employees at Hana Microelectronics Co. Ltd., Lanphun Branch. The samples were 360 employees. The tool to collect the data was questionnaire. The analysis was based on the Two-factor Theory by Hertzberg. Descriptive statistics, namely frequency, percentage and mean were used to analyse the data. The results of the research showed that most questionnaire respondents were female, 26-33 years old, with the highest education being high school or vocational. Most were single with 3 years of working experience. All were daily operational employees, with daily wage of 300-350 baht. They had experience working at other places before. The respondents ranked the overall motivation factors at the high level. They also ranked each of the factor group at the high level, in the following order: success, responsibility, job, type of work, recognition, and promotion. They ranked hygiene factors at the high level, in the following order: organisation’s policy and administration, relationship with supervisor and co-workers, control, work environment, and income and benefits. For their satisfaction with the overall motivation factors, it was found that the respondents were satisfied at the medium level. They were also satisfied with each of the factor group at the medium level, in the following order: success, responsibility, type of work, promotion and recognition. They were satisfied with hygiene factors at the medium level, in the following order: organisation’s policy and administration, relationship with supervisor and co-workers, work environment, and income and benefits. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | บริษัทฮานาไมโครอิเล็คโทรนิคส จำกัด (มหาชน) | en_US |
dc.subject | การจูงใจในการทำงาน | en_US |
dc.subject | พนักงานบริษัท | en_US |
dc.title | ปัจจัยจูงใจในการทำงานของพนักงานระดับปฏิบัติการบริษัทฮานาไมโครอิเล็คโทรนิคส จำกัด (มหาชน) สาขาลำพูน | en_US |
dc.title.alternative | Motivating factors of operational officers of Hana Microelectronics Public Company Limited, Lamphun Branch | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.classification.ddc | 658.314 | - |
thailis.controlvocab.thash | บริษัทฮานาไมโครอิเล็คโทรนิคส จำกัด (มหาชน) | - |
thailis.controlvocab.thash | การจูงใจในการทำงาน -- ลำพูน | - |
thailis.controlvocab.thash | พนักงานบริษัท -- ลำพูน | - |
thailis.manuscript.callnumber | ว/ภน 658.314 พ535ป | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยจูงใจที่มีผลต่อการทำงานของพนักงานระดับปฏิบัติการในบริษัท ฮานา ไมโครอิเล็คโทรนิคส จำกัด (มหาชน) สาขาลำพูน โดยวิธีการเก็บตัวอย่างจากพนักงานระดับปฏิบัติการบริษัท ฮานา ไมโครอิเล็คโทรนิคส จำกัด (มหาชน) สาขาลำพูน จำนวน 360 ราย ซึ่งใช้แบบสอบถาม(Questionnaire)เป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยใช้ทฤษฏี 2 ปัจจัยของเฮอร์สเบริก และนำมาวิเคราะห์โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ค่าสถิติที่ใช้ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ และค่าเฉลี่ย ซึ่งนำไปสู่แนวทางในการแก้ปัญหา ผลการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุ 26 – 33 ปี มีระดับการศึกษาขึ้นสูงสุด คือ มัธยม6 หรือ ปวช สถานะภาพโสด อายุการทำงานมากกว่า 3 ปีซึ่งเป็นพนักงานระดับปฏิบัติการ(รายวัน)ทั้งหมด ได้รับค่าจ้างรายวันเฉลี่ย 300– 350 บาท และเคยมีประสบการณ์การทำงานกับบริษัทอื่นมาก่อน ผู้ตอบแบบสอบถามให้ความสำคัญต่อปัจจัยจูงใจในการทำงานโดยรวม อยู่ในระดับมาก สามารถแยกออกเป็นระดับความสำคัญต่อ กลุ่มปัจจัยจูงใจ(Motivation Factor) ซึ่งมีค่าเฉลี่ยรวมในระดับมาก และ เรียงลำดับได้ดังนี้ ด้านความสำเร็จของงาน ด้านความรับผิดชอบในการทำงาน ด้านลักษณะงานที่ทำ ด้านความยอมรับนับถือ และ ด้านความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน ตามลำดับ ส่วนกลุ่มปัจจัยอนามัย (Hygiene Factor) พนักงานให้ระดับความสำคัญในระดับมาก โดยเรียงลำดับดังนี้ ด้านนโยบายและการบริหารของบริษัท ด้านความสัมพันธ์ของหัวหน้างานและเพื่อนร่วมงาน ด้านควบคุมหรือการนิเทศงาน ด้านสภาพแวดล้อมในการทำงาน และ ด้านรายได้และสวัสดิการ ตามลำดับ ส่วนระดับความพึงพอใจต่อปัจจัยจูงใจในการทำงาน พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจต่อปัจจัยจูงใจในการทำงานโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยสามารถแยกออกเป็นระดับความพึงพอใจต่อปัจจัยจูงใจในกลุ่มปัจจัยจูงใจ (Motivation Factor) ในระดับปานกลาง โดยเรียงลำดับดังนี้ ด้านความสำเร็จของทำงาน ด้านความรับผิดชอบ ด้านลักษณะงานที่ทำ ความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน และด้านความยอมรับนับถือ ตามลำดับ ส่วนความพึงพอใจต่อกลุ่มปัจจัยอนามัย (Hygiene Factor) ในระดับปานกลาง โดยเรียงลำดับดังนี้ ด้านนโยบายและการบริหารของบริษัท ด้านความสัมพันธ์ของหัวหน้างานและเพื่อนร่วมงาน ด้านสภาพแวดล้อมในการทำงาน และ ด้านรายได้และ สวัสดิการ ตามลำดับ | en_US |
Appears in Collections: | BA: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ABSTRACT.docx | Abstract (words) | 181.45 kB | Microsoft Word XML | View/Open |
ABSTRACT.pdf | Abstract | 190.49 kB | Adobe PDF | View/Open |
FULL.pdf | Full IS | 3.97 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.