Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39539
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อดิศักดิ์ ธีรานุพัฒนา-
dc.contributor.authorประชุมชัย วงษ์ชัยภวัฒน์en_US
dc.date.accessioned2016-09-28T03:09:02Z-
dc.date.available2016-09-28T03:09:02Z-
dc.date.issued2557-12-
dc.identifier.urihttp://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39539-
dc.description.abstractThe study on “Selection of Cloud Computing Provider Using the Analytic Hierarchy Process (AHP): A Case Study of Chiang Mai University” aims to develop the model of the selection of Cloud Computing provider using the Analytic Hierarchy Process (AHP), to verify capacity of the proposed selected model, and to conduct the comparative study of the 2 data collection methods namely Geometric Mean and Consensus Approach to find the one and the most appropriate method for the selection of Cloud Computing provider. Data of this study were collected from 5 authorities on Information Technology of Chiang Mai University. For the first objective, to develop the selection model, it got started by setting up criteria using for selecting the Cloud Computing provider. In this step, the reviews of relevant literatures were applied, then, 6 main criteria were addressed: cost, agility, performance, assurance, accountability, and security. In each main criterion, it consisted of 3 sub-criteria, so there were 18 sub-criteria in total. All criteria were ranked in according to hierarchy. After that, the model was constructed via Expert Choice program, which was, later on, used for collecting information from 5 respondents under the application of 2 APH forms. In the beginning, the data collection was done under the mathematic approach, called, the Geometric Mean, to group individual discretions together. In the meanwhile, data were re-collected according to consensus approach, which required the group discussion of the 5 respondents to find out consensus discretion. Lastly, results as obtained from both methods were compared and asked the respondents to select the most appropriate method for the selection of Cloud Computing provider. For the second objective, the results suggested that the selected model was applicable to the selection of Cloud Computing provider. In order to make data as obtained from questionnaires reliable, this study, in addition, examined the consistency ratio (C.R.) according to the model’s matrix size. Sensitivity was also analyzed to find out how the decision’s outcome changed when the level of importance of each main criterion was varied. For the third objective, to conduct the comparative study on 3 Cloud Computing providers namely Amazon EC2, Microsoft Azure, and Google Compute Engine according to 2 mentioned data collection methods, the findings presented that the decision making to select the Cloud Computing provider were contradictory. The results suggested that according to the Geometric method, Google Compute Engine was selected to be the Cloud Computing provider, while Amazon EC2 was selected according to the consensus approach. All 5 respondents unanimously agreed with the result as gained from the consensus approach. The authorities, who could do the decision making, firstly chose Amazon EC2 to be Cloud Computing provider, followed by Microsoft Azure, and Google Compute Engine, respectively. The main criteria influencing their decision making the most were security, accountability, performance, assurance, and cost, accordingly.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectคลาวด์คอมพิวติงen_US
dc.subjectกระบวนการลำดับชั้นเชิงวิเคราะห์en_US
dc.titleการคัดเลือกผู้ให้บริการระบบประมวลผลแบบกลุ่มเมฆของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวิธีวิเคราะห์เชิงลำดับขั้นen_US
dc.title.alternativeSelection of cloud computing providers at Chiang Mai University by applying analytic hierarchy processen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc004.6782-
thailis.controlvocab.thashคลาวด์คอมพิวติง-
thailis.controlvocab.thashการประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์แบบกระจาย-
thailis.controlvocab.thashกระบวนการลำดับชั้นเชิงวิเคราะห์-
thailis.controlvocab.thashผู้ให้บริการเครือข่ายคอมพิวเตอร์-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 004.6782 ป17112ก-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาการคัดเลือกระบบประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ โดยวิธีวิเคราะห์เชิงลำดับขั้น (AHP) กรณีศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแบบจำลองที่ใช้ในการคัดเลือกผู้ให้บริการระบบประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ โดยใช้วิธีการกระบวนการตัดสินใจแบบวิเคราะห์ลำดับขั้น (AHP) หลังจากนั้นจึงนำมาทดสอบความสามารถในการใช้แบบจำลองในการคัดเลือกผู้ให้บริการระบบประมวลผลแบบกลุ่มเมฆที่เสนอ และทำการเปรียบเทียบวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลทั้ง 2 วิธี คือวิธีค่าเฉลี่ยเรขาคณิตและวิธีฉันทามติ มาเปรียบเทียบหาวิธีการรวบรวมที่เหมาะสมที่สุด 1 วิธีในการตัดสินใจเลือกผู้ให้บริการระบบประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ โดยการศึกษานี้ทำการเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้มีอำนาจในการตัดสินใจด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จำนวน 5 ราย การพัฒนาแบบจำลองตามจุดประสงค์ข้อแรก เริ่มจากการหาเกณฑ์ในการคัดเลือกผู้ให้บริการระบบประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ (Cloud Computing Provider) โดยอาศัยการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง ได้มาเป็นเกณฑ์หลักทั้ง 6 เกณฑ์ ได้แก่ ค่าใช้จ่าย (Cost) ความคล่องตัว (Agility) สมรรถนะ (Performance) การรับประกัน (Assurance) ภาระรับผิดชอบ (Accountability) และมาตรฐานด้านความปลอดภัย (Security) และในแต่ละเกณฑ์หลักจะประกอบด้วยเกณฑ์รอง อีกจำนวน 3 เกณฑ์ รวมเป็น 18 เกณฑ์รอง นำเกณฑ์ทั้งหมดมาจัดลำดับความสำคัญ นำมาสร้างแบบจำลองผ่านโปรแกรมคอมพิวเตอร์ Expert Choice แล้วนำแบบจำลองไปเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้ตอบแบบสอบถามทั้ง 5 รายโดยวิธี AHP 2 รูปแบบ โดยครั้งแรกใช้วิธีเก็บแบบค่าเฉลี่ยเรขาคณิต เพื่อรวมดุลยพินิจของผู้ตอบแบบสอบถามแต่ละรายเข้าเป็นดุลยพินิจของกลุ่มด้วยวิธีทางคณิตศาสตร์ หลังจากนั้นทำการเก็บรวบรวมข้อมูลอีกครั้งด้วยวิธีฉันทามติ โดยผู้ตอบแบบสอบถามทั้ง 5 ต้องอภิปรายกลุ่มรวบรวมเป็นดุลยพินิจจากเสียงเอกฉันท์ แล้วนำผลการคัดเลือกจากทั้ง 2 วิธีมาเปรียบเทียบผลที่ได้ แล้วให้ผู้ตอบแบบสอบถามตัดสินใจเลือกวิธีการที่ตนเห็นว่าเหมาะสมที่สุดต่อไป จากวัตถุประสงค์ข้อที่ 2 พบว่าแบบจำลองที่เสนอ สามารถนำมาประยุกต์ใช้เพื่อเลือกผู้ให้บริการระบบประมวลผลแบบกลุ่มเมฆได้จริง นอกจากนี้ยังมีการตรวจสอบความสอดคล้องของดุลยพินิจ (Consistency Ratio: C.R.) ตามขนาดของเมทริกซ์ของแบบจำลอง เพื่อความน่าเชื่อถือของข้อมูลในการตอบแบบสอบถาม และมีการวิเคราะห์ความไว (Sensitivity) เพื่อตรวจผลลัพธ์ของการตัดสินใจว่าเปลี่ยนแปลงอย่างไรเมื่อระดับค่าน้ำหนักความสำคัญของเกณฑ์หลักแต่เกณฑ์เปลี่ยนแปลงไป จากวัตถุประสงค์ข้อสุดท้าย การเปรียบเทียบเลือกผู้ให้บริการระบบประมวลผลแบบกลุ่มเมฆทั้ง 3 รายประกอบด้วย Amazon EC2, Microsoft Azure และ Google Compute Engine จากผลการรวบรวมทั้ง 2 วิธี พบว่าผลการตัดสินใจเลือกระบบประมวลผลแบบกลุ่มเมฆผลที่ได้ ไม่สอดคล้องกัน ผลที่ได้จากการรวบรวมแบบวิธีค่าเฉลี่ยเรขาคณิตเลือก Google Compute Engine เป็นผู้ให้บริการระบบ ส่วนวิธีฉันทามติ ผลที่ได้เลือก Amazon EC2 ให้เป็นผู้ให้บริการระบบ ผู้ตอบแบบสอบถามทั้ง 5 ราย มีความเห็นชอบในผลจากรูปแบบการตัดสินใจแบบวิธีฉันทามติอย่างเป็นเอกฉันท์ ผู้มีอำนาจในการตัดสินใจเลือก Amazon EC2 คือผู้ให้บริการระบบประมวลผลแบบกลุ่มเมฆอันดับ 1 รองลงมาเป็น Microsoft Azure และ Google Compute Engine เป็นอันดับสุดท้าย และเกณฑ์หลักที่ส่งผลในตัดสินใจ คือ เกณฑ์หลักด้านความปลอดภัย (Security) มาเป็นอันดับที่ 1 รองลงมาคือเกณฑ์ด้านภาระรับผิดชอบ (Accountability) เกณฑ์หลักด้านสมรรถนะของระบบ (Performance) ด้านการรับประกัน (Assurance) และด้านค่าใช่จ่าย (Cost)en_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.docxAbstract (words)179.39 kBMicrosoft Word XMLView/Open
ABSTRACT.pdfAbstract220.84 kBAdobe PDFView/Open
FULL.pdfFull IS4.37 MBAdobe PDFView/Open


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.