Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39483
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอาจารย์ ดร.วรรณัย สายประเสริฐ-
dc.contributor.authorอุษณีย์ ศาลิคุปตen_US
dc.date.accessioned2016-08-09T09:20:00Z-
dc.date.available2016-08-09T09:20:00Z-
dc.date.issued2558-10-05-
dc.identifier.urihttp://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39483-
dc.description.abstractThe purpose of this independent study is to examine behavior of consumers and retailing mix affecting purchasing of goods from small retail store in Mueang Samut Sakhon. A set of questionnaires was distributed to 300 consumer who purchased goods from small retail store using quota sampling technique and analyzed by descriptive statistics to assess frequency, percentage and means. The results found that most of the respondents were females, age between 20-29 years old, single, secondary education/vocational as the highest level of education, working in private company and having the average monthly remuneration in range of THB 10,000-20,000. The behavior of consumers towards buying goods from small retail stores in Mueang Samut Sakhon found that most of the respondents purchased goods for themselves, the average customers visiting the store were oneself, the most popular items were beverage products, the average purchasing were 3 items per time, and the average cost were THB 51-100. Most of them decided to purchase at small retail store because the short distance from their house. On the contrary, the others preferred the available to a few product. The family members had the influence on their purchasing decision, most of them visited the store alone, and purchasing frequency was approximately every day and purchasing time were Monday- Friday from 16.01-19.00. In daily life, respondents purchased goods from modern small retail store and purchased from small retail store when they found that their goods was out of stock. Besides, they finding goods by themselves, and paid by cash. The results of the study of retailing mix affecting consumer in buying goods from the small retail store in Mueang Samut Sakhon district indicated that 3 sub factors of retailing mix with highest mean score were courtesy of seller (People), the owner greeted recognized correctly (People) and price does not change (Price).en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectพฤติกรรมผู้บริโภคen_US
dc.subjectร้านค้าปลีกen_US
dc.titleพฤติกรรมผู้บริโภคในการซื้อสินค้าจากร้านค้าปลีกรายย่อยในอำเภอเมืองสมุทรสาครen_US
dc.title.alternativeConsumer behavior towards buying goods from small retail stores in Mueang Samut Sakhon districten_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc658.8342-
thailis.controlvocab.lcshร้านค้าปลีก -- สมุทรสาคร-
thailis.controlvocab.thashพฤติกรรมผู้บริโภค -- สมุทรสาคร-
thailis.manuscript.callnumberว 658.8342 อ484พ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงพฤติกรรมผู้บริโภคและส่วนประสมการตลาดค้าปลีกที่มีผลต่อผู้บริโภคในการตัดสินใจซื้อสินค้าจากร้านค้าปลีกรายย่อยในอำเภอเมืองสมุทรสาคร โดยเก็บตัวอย่างจากผู้บริโภคที่ซื้อสินค้ารายย่อยที่ตั้งอยู่ในอำเภอเมืองสมุทรสาคร จำนวน 300 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ แบบสอบถาม และการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ สถิติเชิงพรรณนา ประกอบด้วย ความถี่ ร้อยละและค่าเฉลี่ย จากการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุ 20 – 29 ปีมีระดับการศึกษาขั้นสูงสุด คือ มัธยมศึกษา/ปวช มีอาชีพพนักงานบริษัทรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 10,000 – 20,000 บาทสถานะภาพโสด พฤติกรรมผู้บริโภคในการซื้อสินค้าจากร้านค้าปลีกรายย่อยในอำเภอเมืองสมุทรสาคร พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มักซื้อสินค้าจากร้านค้าปลีกรายย่อยเพื่อซื้อมาใช้เอง โดยไปซื้อสินค้าด้วยตัวเอง ประเภทสินค้าที่ซื้อบ่อยคือ เครื่องดื่ม เช่น น้ำอัดลม นม น้ำเปล่า มักซื้อสินค้าโดยเฉลี่ยต่อครั้ง คือ 3 ชิ้น มีค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อครั้งจำนวน 51 – 100 บาท ส่วนใหญ่ซื้อเพราะใกล้บ้าน และเหตุผลที่ผู้ตอบแบบสอบถามไม่เลือกซื้อสินค้าจากร้านค้าปลีกรายย่อย คือ มีสินค้าให้เลือกน้อย ส่วนใหญ่เป็นสมาชิกในครอบครัวจะช่วยในการตัดสินใจซื้อสินค้า โดยจะไปซื้อสินค้าคนเดียวบ่อยที่สุด มักซื้อสินค้าทุกวัน ส่วนใหญ่ซื้อสินค้าในวันจันทร์ถึงวันศุกร์ โดยซื้อสินค้าในช่วงเวลา 16.01-19.00 น. ในชีวิตประจำวันของผู้ตอบแบบสอบถามจะซื้อสินค้าจากร้านค้าปลีกสมัยใหม่ขนาดเล็ก จะซื้อสินค้าที่ร้านค้าปลีกรายย่อยเมื่อสินค้าที่ใช้อยู่หมดกะทันหัน รู้จักร้านค้าปลีกรายย่อยเนื่องจาก เป็นทางผ่านกลับบ้านโดยลักษณะการซื้อ จะเดินเลือกหาสินค้าเอง และจะชำระเงินด้วยเงินสด ผลการศึกษาส่วนประสมการตลาดค้าปลีกที่มีผลต่อผู้บริโภคในการตัดสินใจซื้อสินค้าจากร้านค้าปลีกรายย่อยในอำเภอเมืองสมุทรสาคร พบว่า ส่วนประสมการตลาดค้าปลีกในด้านต่างๆ ที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดใน 3 อันดับแรก คือ เจ้าของร้านมีอัธยาศัยที่ดีในการให้บริการ (ด้านบุคลากร) เจ้าของร้านรู้จักลูกค้า ทักทายได้อย่างถูกต้อง (ด้านบุคลากร) และราคาสินค้าไม่เปลี่ยนแปลงบ่อย (ด้านราคา) ตามลำดับen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.docxAbstract (words)176.68 kBMicrosoft Word XMLView/Open
ABSTRACT.pdfAbstract196.67 kBAdobe PDFView/Open
FULL.pdfFull IS3.42 MBAdobe PDFView/Open


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.