Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39467
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรศ. ดร. วรลัญจก์ บุณยสุรัตน์-
dc.contributor.authorสมพล กอบสุขนิรันดร์en_US
dc.date.accessioned2016-07-27T09:10:29Z-
dc.date.available2016-07-27T09:10:29Z-
dc.date.issued2015-05-
dc.identifier.urihttp://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39467-
dc.description.abstractThe objective of information design research of “Wiang Kum Kam” is to present information about the historical of Wiang Kum Kam for tourists in Chiang Mai. Wiang Kum Kam is the old city and it was the beginning of Ching Mai in the present. It has been found in 1984. Wiang Kum Kam has been the glory City in the past. But In many years later, the city confronts with an inundation that can cause the whole city swamped for a hundred years. Nowadays, the Wiang Kum Kam has been renovated by Chiang Mai people for travelling. Meanwhile, the complicated of Location is the main troubles for people who come to visit the city. For instance, carriage way and the crowded of community are directly affected to tourists. They can’t conveniently to approach the Wiang Kum Kam. These can cause most of tourist get lost and wrong information. To help and guide them, the information design researcher try to collect the information from tourist by questionnaire, interview for the solution. After that the information design has a little role for tourist with providing 1.Logo 2.Map 3.Brochure 4.Wayfinding 5.Website 6.E-book for the apparently information of Wiang Kum Kam in Chiangmai. The result of the study has shown that the tourists and Local people satisfied in high level. At the meantime, we still have some barriers because of the varieties nationality of tourists its can cause about the communication between researcher and tourist during doing the research. Next, the researcher can’t approach to tourist. Due to the different type of sightseeing tour at Wiang Kum Kam such as by brougham, tram operated by Wiang Kum Kam Staff and some of tourists are independent travel.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการออกแบบสารสนเทศสำหรับเมืองประวัติศาสตร์ เวียงกุมกาม เชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeInformation Design for Wiang Kum Kam Historical City, Chiang Maien_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระการออกแบบสารสนเทศสำหรับเมืองประวัติศาสตร์เวียงกุมกาม เชียงใหม่ มีวัตถุประสงค์เพื่อออกแบบสารสนเทศในการนำเสนอข้อมูลของแหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์เวียงกุมกาม ในจังหวัดเชียงใหม่ เวียงกุมกามเป็นเมืองเริ่มแรกของจังหวัดเชียงใหม่ที่มีโบราณสถานเก่าแก่ที่ถูกขุดค้นพบครั้งแรกในปี 2527 หลังจากการถูกน้ำท่วมจนถูกฝังจมอยู่ในตะกอนดินมาหลายร้อยปี ด้วยพื้นที่ที่เป็นชุมชนเชื่อมโยงกับโบราณสถาน เส้นทางถนน ตรอก ซอกซอย มีเป็นจำนวนมากทำให้การเดินทางเยี่ยมชมโบราณสถาน ไหว้พระขอพร เป็นไปอย่างยากลำบากสำหรับนักท่องเที่ยวที่ไม่คุ้นเคยกับพื้นที่ ทำให้เกิดปัญหาในการเดินทาง มีนักท่องเที่ยวหลงทาง หาแหล่งโบราณสถานไม่พบ ขาดการให้ข้อมูลและป้ายชี้นำทางกับนักท่องเที่ยวที่ชัดเจนต่อระบบชี้นำทางและข้อมูลสารสนเทศจึงมีความสำคัญเป็นอย่างมาก ด้วยเหตุนี้ผู้ค้นคว้าได้เก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มเป้าหมาย จากแบบสอบถาม การสัมภาษณ์และการสำรวจพื้นที่จริง ของทั้งผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบ นักท่องเที่ยวและคนภายในพื้นที่ เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการวิเคราะห์โดยใช้หลักการออกแบบสารสนเทศเพื่อออกแบบสารสนเทศให้แก่นักท่องเที่ยว ได้แก่ 1.) สัญลักษณ์เวียงกุมกาม 2.) แผนที่ 3.) แผ่นพับ 4.) ระบบป้ายชี้นำทาง 5.) เว็บไซต์ 6.) หนังสืออิเลคทรอนิกส์ (e-book) เพื่อให้ข้อมูลที่ชัดเจนและมีความเป็นเอกภาพของเมืองประวัติศาสตร์เวียงกุมกาม เชียงใหม่ ผลการศึกษาการออกแบบสารสนเทศสำหรับเมืองประวัติศาสตร์เวียงกุมกาม เชียงใหม่ จากนักท่องเที่ยวและคนในพื้นที่มีความพึงพอใจอยู่ในเกณฑ์ที่ดี การให้ข้อมูลที่ชัดเจนและมีความเป็นเอกภาพในการสื่อความหมายของความเป็นเวียงกุมกาม แต่ก็ยังพบปัญหาเนื่องด้วยเวียงกุมกามเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่มีโบราณสถานจำนวนมาก มีกลุ่มนักท่องเที่ยวที่หลากหลายเชื้อชาติ และรูปแบบใน การเที่ยวชมเมืองมีหลายรูปแบบ เช่น การเที่ยวแบบรถราง,รถม้า จัดโดยศูนย์ข้อมูลกลางเวียงกุมกาม และการเที่ยวชมด้วยตนเอง โดยรถยนต์, รถจักรยานยนต์และรถจักรยาน ทำให้ขาดประสิทธิภาพในการเข้าถึงกลุ่มนักท่องเที่ยวได้อย่างทั่วถึงen_US
Appears in Collections:GRAD-Sciences and Technology: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.docxAbstract (words)180.27 kBMicrosoft Word XMLView/Open
ABSTRACT.pdfAbstract189.52 kBAdobe PDFView/Open
FULL.pdfFull IS15.22 MBAdobe PDFView/Open


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.