Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39455
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | รศ. ไทพีศรีนิวัติ ภักดีกุล | - |
dc.contributor.author | ดนุภพ เกิดศรี | en_US |
dc.date.accessioned | 2016-07-26T09:45:14Z | - |
dc.date.available | 2016-07-26T09:45:14Z | - |
dc.date.issued | 2014-12 | - |
dc.identifier.uri | http://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39455 | - |
dc.description.abstract | The objective of this research is to study the perception of investigators toward the term of Human Dignity. The result will be used to identify the definition of Human Dignity; therefore, the investors would understand the term of Human Dignity in the same way. It would be able to help the investigator work more effectively and efficiently. The researcher used questionnaire to correct the data from 38 investigators in Chiang Mai. The research reveals that the investigators understand the definition of Human Dignity differently from one another. This leads the investigators perform the investigation processes based on the different standards. Moreover, the research shows that there are three factors including gender, physical appearance and age leading the investigators to treat victims and suspects differently. After analyzing the information corrected, the researcher suggests redefining the definition of the Human Dignity to create mutual understanding among the investigators. Otherwise, the investigation processes would be performed improperly which leads to other forms of discrimination and violation of Human Dignity. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การให้คำนิยาม “ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์” ภายใต้บริบทการรับรู้กฎหมายของพนักงานสอบสวน | en_US |
dc.title.alternative | Definition of “Human Dignity” in Context of Law Recognition of Police Investigators | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาถึงความรู้และความเข้าใจของพนักงานสอบสวนเกี่ยวกับ คำว่า ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ เพื่อให้สามารถนำผลการศึกษามาวิเคราะห์ความเหมาะสมเพื่อเป็นเงื่อนไขหนึ่งในการกำหนดขอบเขต และการนิยาม ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ อันจะเป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติของข้าราชการตำรวจอย่างเหมาะสมต่อไป ทั้งนี้ได้ทำการการวิจัยสนาม โดยทำการออกแบบสอบถามพนักงานสอบสวนอำเภอเมือง ในจังหวัดเชียงใหม่จำนวน 38 คน ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่า ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ มีบทบาทอย่างจำกัดต่อการปฏิบัติของพนักงานสอบสวนต่อผู้เสียหายและผู้ต้องหา เนื่องจากพนักงานสอบสวนมีความรู้และความเข้าใจในเรื่องศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ที่แตกต่างกัน ซึ่งมีผลต่อมุมมองและการตระหนักถึงกฎหมายเรื่อง ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ของพนักงานสอบสวนแตกต่างกัน นอกจากนี้ยังพบปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติของพนักงานสอบสวนต่อผู้เสียหายและผู้ต้องหา คือ เพศ ลักษณะทางกายภาพ และวัย ซึ่งเป็นปัจจัยหนึ่งที่ทำให้พนักงานสอบสวนปฏิบัติต่อผู้เสียหายและผู้ต้องหาต่างกัน ผลจากการวิจัยจึงได้เสนอ ให้มีการกำหนดขอบเขตคำว่า “ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์” ให้พนักงานสอบสวนมีความรู้และความเข้าใจที่ตรงกัน ไม่เช่นนั้นแล้วการปฏิบัติของพนักงานสอบสวนต่อผู้เสียหายและการปฏิบัติของพนักงานสอบสวนต่อผู้ต้องหาจะมีลักษณะคลุมเครือ ไม่ชัดเจน และจะนำไปสู่การกีดกัน เลือกปฏิบัติ และสร้างปัญหาการละเมิดศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ในรูปแบบอื่นๆ เพิ่มมากขึ้น | en_US |
Appears in Collections: | LAW: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ABSTRACT.docx | Abstract (words) | 48.02 kB | Microsoft Word XML | View/Open Request a copy |
ABSTRACT.pdf | Abstract | 219.13 kB | Adobe PDF | View/Open |
FULL.pdf | Full IS | 1.66 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.