Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39447
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอาจารย์ ดร.ชัยวุฒิ ตั้งสมชัย-
dc.contributor.authorเนตรชนก คำผาลาen_US
dc.date.accessioned2016-07-26T09:39:16Z-
dc.date.available2016-07-26T09:39:16Z-
dc.date.issued2014-10-
dc.identifier.urihttp://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39447-
dc.description.abstractThis independent study aimed at studying the habit of Faculty of Fisheries and Aquatic Resources Students, Maejo University by employing the Seven Habits of Highly Effective People Principle by Stephen R. Covey (1989) and at finding correlation between the habit levels and between the respondent general characteristics and habit levels. The samples were collected from those students who were studying in Faculty of Fisheries and Aquatic Resources. The sample size was specified to 234, suggested by RV Krejcie and D.W. Morgan. Self-scoring Seven Habits of Highly Effective People Principle questionnaire by Covey (2010) was used in correcting data. Statistical analysis techniques used in this study were frequency, percentage, mean, standard deviation, t-Test, one-way ANOVA and correlation analysis. Most of the respondents were 20-21 years old male studying in the first academic year of 4-year program with GPA and GPAC of 1.76-2.50. Most respondents were the youngest child. They had two brothers/sisters and they lived with their both parents. Their parents lived together. Their parents worked as agriculturist. They had 5 close friends. They had no work experience and never were a leader or involved in arranging student activities. They had experienced in voluntarily attending student activities and they were willing in attending activities organized by students association, the faculty or the university. They had an opportunity to attend a lesson or a class concerning the Seven Habits for Highly Effective People Principle. The result of the study showed that the respondents had high level of Habit 1: Be Proactive. However, they had medium high level of Habit 7: Sharpen the Saw, Life Balance Habits, Habit 4: Think Win/Win, Habit 5: Seek First to Understand, Emotional Bank Account Habit, Habit 2: Begin With the End in Mind, Habit 3: Put First Thing First, Habit 6: Synergize were ranked at high level, respectively. Private Victory Habits, Public Victory Habit and Habit Overall 7 Habit and was ranked at high level, respectively. The level of Emotional Bank Account Habit were significantly different among these respondent characteristics: previous part time job for extra income, whether being a leader or involved in arranging student activities team, experience in voluntarily attending student activities and the level of willingness to attend activities organized by students association, the faculty or the university and previous learning experience concerning the Seven Habits for Highly Effective People Principle. The level of Life Balance Habit were significantly different among these respondent characteristics: the study level, GPAC, the number of siblings, the respondents lived with mostly, experience in voluntarily attending student activities and the level of willingness to attend activities organized by students association, the faculty or the university and previous learning experience concerning the Seven Habits for Highly Effective People Principle. The level of Private Victory Habit were significantly different among these respondent characteristics: academic program, occupation of mother, previous part time job for extra income, experience in voluntarily attending student activities and the level of willingness to attend activities organized by students association. The level of Public Victory Habit were significantly different among these respondent characteristics: academic program, previous part time job for extra income, whether being a leader or involved in arranging student activities team, experience in voluntarily attending student activities and the level of willingness to attend activities organized by students association, the faculty or the university and previous learning experience concerning the Seven Habits for Highly Effective People Principle. The level of the overall 7 Habit were significantly different among these respondent characteristics: academic program, occupation of mother, previous part time job for extra income, whether being a leader or involved in arranging student activities team, experience in voluntarily attending student activities and the level of willingness to attend activities organized by students association, the faculty or the university and previous learning experience concerning the Seven Habits for Highly Effective People Principle. The correlation analysis showed that the Emotional Bank Account, Life Balance and Habit 1 to Habit 7 were positively correlated with each other. The GPA was not related to Emotional Bank Account, Life Balance and Habit 1 to Habit 7. Meanwhile, the results showed negative correlation between GPAC and Emotional Bank Account and Life Balance in a low level. Students with learning experience concerning the Seven Habits for Highly Effective People Principle had higher average level of all habits than students who did not have that experience.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการวัดระดับอุปนิสัยของนักศึกษาคณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ โดยใช้หลักการเจ็ดอุปนิสัยพัฒนาสู่ผู้มีประสิทธิผลสูงen_US
dc.title.alternativeMeasuring Habit Level of Faculty of Fisheries Technology and Aquatic Resources Students, Maejo University, by Applying the Seven Habits of Highly Effective People Principleen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาค้นคว้าแบบอิสระเรื่องการวัดระดับอุปนิสัยของนักศึกษาคณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ โดยใช้หลักการเจ็ดอุปนิสัยพัฒนาสู่ผู้มีประสิทธิผลสูง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับอุปนิสัย 7 ประการพัฒนาสู่ผู้มีประสิทธิผลสูง ตามหลักการของ Stephen R.Covey และเพื่อเปรียบเทียบหาความสัมพันธ์ระหว่างระดับอุปนิสัยของนักศึกษาคณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ กับคุณลักษณะทั่วไปของนักศึกษา กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้ คือ นักศึกษาชั้นปีที่ 1 ถึงชั้นปีที่ 4 คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ กำหนดขนาดตัวอย่างจำนวน 234 ราย โดยใช้ตารางสำเร็จรูปของ R.V. Krejcie และ D.W. Morgan และเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม 7 อุปนิสัยพัฒนาสู่ผู้มีประสิทธิผลสูงของ Covey (2010) แล้วนำมาวิเคราะห์โดยใช้วิธีการทางสถิติ คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยสองกลุ่ม การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบจำแนกทางเดียว และการวิเคราะห์สหสัมพันธ์ ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุ 20-21 ปี ศึกษาในชั้นปีที่ 1 แผนการศึกษาหลักสูตร 4 ปี มีผลการเรียนเฉลี่ยภาคการศึกษาล่าสุดและผลการเรียนสะสมในระดับ 1.76-2.50 ส่วนใหญ่เป็นบุตรคนสุดท้อง มีจำนวนพี่น้อง 2 คน อาศัยอยู่กับบิดาและมารดา บิดามารดาอาศัยอยู่ด้วยกัน มีบิดาและมารดาประกอบอาชีพเกษตรกร มีเพื่อนสนิท 5 คน ไม่เคยทำงานพิเศษหรือหารายได้เสริม ไม่เคยเป็นผู้ริเริ่ม ผู้นำ หรือผู้มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมนักศึกษา เคยมีประสบการณ์ในการเข้าร่วมกิจกรรมโดยสมัครใจ มีความเต็มใจเข้าร่วมกิจกรรมที่ทางสโมสรนักศึกษา คณะหรือมหาวิทยาลัยจัดให้ และเคยเรียนรู้เกี่ยวกับ 7 อุปนิสัยพัฒนาสู่ผู้มีประสิทธิผลสูง กลุ่มตัวอย่างมีค่าเฉลี่ยระดับอุปนิสัยที่ 1 บี-โปรแอกทีฟ อยู่ในระดับมาก ส่วนอุปนิสัยที่ 7 ลับเลื่อยให้คมอยู่เสมอ ความสมดุลในการดำเนินชีวิต อุปนิสัยที่ 4 คิดแบบชนะ/ชนะ อุปนิสัยที่ 5 เข้าใจผู้อื่นก่อน แล้วจึงให้ผู้อื่นเข้าใจเรา บัญชีออมใจ อุปนิสัยที่ 2 เริ่มต้นด้วยจุดมุ่งหมายในใจ อุปนิสัยที่ 3 ทำสิ่งที่สำคัญก่อน และอุปนิสัยที่ 6 ผนึกพลังประสานความต่าง อยู่ในระดับค่อนข้าง มาก ตามลำดับ เมื่อคิดเป็นกลุ่มอุปนิสัยแล้วพบว่า กลุ่มชัยชนะชนะส่วนตน อุปนิสัยกลุ่มชัยชนะในสังคม และภาพรวม 7 อุปนิสัยพัฒนาสู่ผู้มีประสิทธิผลสูงอยู่ในระดับค่อนข้างมากตามลำดับ ระดับบัญชีออมใจมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติสำหรับคุณลักษณะทั่วไปดังต่อไปนี้ ประวัติการทำงานพิเศษหรือมีรายได้เสริม ประสบการณ์การเป็นผู้ริเริ่ม ผู้นำ หรือผู้มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมนักศึกษา ความเต็มใจเข้าร่วมกิจกรรมที่ทางสโมสรนักศึกษา คณะหรือมหาวิทยาลัยจัดให้ และประสบการณ์ในการเรียนรู้เกี่ยวกับ 7 อุปนิสัยพัฒนาสู่ผู้มีประสิทธิผลสูง ระดับความสมดุลในการดำเนินชีวิตมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติสำหรับคุณลักษณะทั่วไปดังต่อไปนี้ ชั้นปีที่กำลังศึกษา ช่วงเกรดเฉลี่ยสะสม จำนวนพี่น้อง บุคคลที่อาศัยอยู่ด้วยเป็นส่วนใหญ่ ความเต็มใจเข้าร่วมกิจกรรมที่ทางสโมสรนักศึกษา คณะหรือมหาวิทยาลัยจัดให้ และประสบการณ์ในการเรียนรู้เกี่ยวกับ 7 อุปนิสัยพัฒนาสู่ผู้มีประสิทธิผลสูง ระดับกลุ่มอุปนิสัยเพื่อชัยชนะส่วนตนมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติสำหรับคุณลักษณะทั่วไปดังต่อไปนี้ แผนการศึกษา อาชีพของมารดา ประวัติการทำงานพิเศษหรือมีรายได้เสริม ประสบการณ์การเป็นผู้ริเริ่ม ผู้นำ หรือผู้มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมนักศึกษา และความเต็มใจเข้าร่วมกิจกรรมที่ทางสโมสรนักศึกษา คณะหรือมหาวิทยาลัยจัดให้ ระดับกลุ่มอุปนิสัยเพื่อชัยชนะในสังคมมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติสำหรับคุณลักษณะทั่วไปดังต่อไปนี้ แผนการศึกษา ประวัติการทำงานพิเศษหรือมีรายได้เสริม ประสบการณ์การเป็นผู้ริเริ่ม ผู้นำ หรือผู้มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมนักศึกษา ความเต็มใจเข้าร่วมกิจกรรมที่ทางสโมสรนักศึกษา คณะหรือมหาวิทยาลัยจัดให้ และประสบการณ์ในการเรียนรู้เกี่ยวกับ 7 อุปนิสัยพัฒนาสู่ผู้มีประสิทธิผลสูง ระดับภาพรวม 7 อุปนิสัยพัฒนาสู่ผู้มีทรงประสิทธิผลสูงมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติสำหรับคุณลักษณะทั่วไปดังต่อไปนี้ แผนการศึกษา อาชีพของมารดา ประวัติการทำงานพิเศษหรือมีรายได้เสริม ประสบการณ์การเป็นผู้ริเริ่ม ผู้นำ หรือผู้มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมนักศึกษา ความเต็มใจเข้าร่วมกิจกรรมที่ทางสโมสรนักศึกษา คณะหรือมหาวิทยาลัยจัดให้ และประสบการณ์ในการเรียนรู้เกี่ยวกับ 7 อุปนิสัยพัฒนาสู่ผู้มีประสิทธิผลสูง การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างอุปนิสัย พบว่า อุปนิสัยตามหลักการ 7 อุปนิสัยพัฒนาสู่ผู้มีประสิทธิผลสูง ได้แก่ บัญชีออมใจ ความสมดุลในการดำเนินชีวิต และอุปนิสัยที่ 1 ถึง อุปนิสัยที่ 7 มีความสัมพันธ์กันทางบวกกับทุกอุปนิสัย เกรดเฉลี่ยภาคการศึกษาล่าสุดไม่มีความสัมพันธ์กับบัญชีออมใจ ความสมดุลในการดำเนินชีวิต และอุปนิสัยที่ 1 ถึง อุปนิสัยที่ 7 ในขณะที่เกรดเฉลี่ยสะสมที่มีความสัมพันธ์ทางลบกับบัญชีออมใจและความสมดุลในชีวิตในระดับต่ำ นักศึกษาที่มีประสบการณ์ในการเรียนรู้เกี่ยวกับ 7 อุปนิสัยพัฒนาสู่ผู้มีประสิทธิผลสูง มีค่าเฉลี่ยระดับอุปนิสัยสูงกว่านักศึกษาที่ไม่มีประสบการณ์ในการเรียนรู้เกี่ยวกับ 7 อุปนิสัยพัฒนาสู่ผู้มีประสิทธิผลสูงในทุกระดับอุปนิสัยen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.docxAbstract (words)178.59 kBMicrosoft Word XMLView/Open
ABSTRACT.pdfAbstract197.14 kBAdobe PDFView/Open
FULL.pdfFull IS4.86 MBAdobe PDFView/Open


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.