Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39441
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อาจารย์ ดร. ชลาธิป วสุวัต | - |
dc.contributor.author | ธัญวยา อยู่เกษม | en_US |
dc.date.accessioned | 2016-07-22T09:30:16Z | - |
dc.date.available | 2016-07-22T09:30:16Z | - |
dc.date.issued | 2015-10 | - |
dc.identifier.uri | http://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39441 | - |
dc.description.abstract | The purpose of this study is to explore and analyze the differences in terms of struggles, resistance and freedom of the main female characters between Volker Schlondorff’s film adaptation The Handmaid’s Tale and the novel The Handmaid’s Tale by Margaret Atwood, using the concepts of Liberal Feminism, Women and Catholicism, Deconstruction, and Mise-en-scene. From the results of the study, it can be concluded that the storylines between the film adaptation and the novel are similar where female characters all encounter religious, political objectification and each one of them has their ways of shutting it out, whereas certain plot developments and the endings are different between the two media due to the degree of how the main female characters express their struggles, resistance, and freedom. Liberal Feminism and Women and Catholicism are used to investigate, both in the film and the novel, the storylines, the characters, the actions, and the dialogues, and elaborate the according situation of women to create a clearer understanding of how the main female characters are oppressed. Deconstructionism helps explore the possible hidden meanings of each main character and their actions and how they can be interpreted as defiance or resistance, while mise-en-scene deals with the visual elements of the film which help to indicate the changes the film makes on the story, such as the point of view and the relationships between characters, and thus have impacts on the main female characters and the final outcome. This study will help to strengthen and create more awareness on women’s issues and rights reflected in both the film adaptation and the novel, especially those concerning personal decisions and women’s right to reproductivity. | en_US |
dc.language.iso | en_US | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การต่อสู้ดิ้นรน การต่อต้าน และ อิสรภาพของผู้หญิงในภาพยนตร์และนวนิยายเรื่อง เดอะ แฮนด์เมดส์ เทล | en_US |
dc.title.alternative | Women’s Struggles, Resistance, and Freedom in the Film and Novel Versions of The Handmaid’s Tale | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | งานวิจัยชิ้นนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาและวิเคราะห์เปรียบเทียบความแตกต่างในแง่การต่อสู้ดิ้นรน การต่อต้าน และ อิสรภาพของตัวละครหลักเพศหญิง ในการดัดแปลงเป็นภาพยนตร์ของ The Handmaid’s Tale โดย Volker Schlondorff และนวนิยายเรื่อง เดอะ แฮนด์เมดส์ เทล โดย Margaret Atwood โดยวิเคราะห์ผ่านแนวความคิดของ ลัทธิสตรีนิยมสายเสรีนิยม ผู้หญิงกับศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก ทฤษฎีรื้อสร้าง และการจัดฉาก ผลวิเคราะห์พบว่าเนื้อเรื่องของภาพยนตร์ดัดแปลงและนวนิยายนั้นคล้ายคลึงกัน เนื่องจากตัวละครหลักหญิงทั้งหมดถูกกดขี่จากอำนาจศาสนาและการเมือง และแต่ละคนต่างก็มีวิธีปิดกั้นความรู้สึกต่างกันไป แต่การดำเนินเรื่องบางส่วนและตอนจบของเรื่องนั้นต่างกัน เพราะการแสดงออกของการดิ้นรน การต่อต้าน และการได้อิสรภาพของตัวละครหลักเพศหญิงแต่ละคนมีความชัดเจนและรุนแรงไม่เท่ากัน โดย ลัทธิสตรีนิยมสายเสรีนิยม และผู้หญิงกับศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก ใช้วิเคราะห์การดำเนินเรื่อง ตัวละคร การกระทำ และบทสนทนา และนำมาอภิปรายสถานการณ์โดยรวมของผู้หญิงเพื่อให้สามารถเข้าใจได้ชัดเจนขึ้นว่าตัวละครหลักหญิงนั้นถูกกดขี่อย่างไร ทฤษฎีรื้อสร้างใช้ช่วยในการสำรวจหาความหมายแฝงที่อาจมีอยู่ในตัวละครและการกระทำของตัวละครเหล่านั้น และวิเคราะห์ว่าสามารถตีความให้เป็นการขัดขืนหรือการต่อต้านได้อย่างไร และการจัดฉาก ช่วยเรื่องการทำความเข้าใจองค์ประกอบของภาพที่เห็นในภาพยนตร์ที่สร้างความต่างทั้งในด้านมุมมองของตัวละคร และความสัมพันธ์ของตัวละคร ซึ่งส่งผลกระทบกับตัวละครหลักเพศหญิงและผลลัพธ์ในท้ายสุดของเรื่อง งานวิจัยนี้จะช่วยให้ผู้อ่านได้รับรู้และตระหนักถึงประเด็นปัญหาและสิทธิของสตรีมากขึ้น อย่างที่ภาพยนตร์และนิยายสะท้อนให้เห็น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ประเด็นสิทธิส่วนตัวในการตัดสินใจเลือก และสิทธิในระบบสืบพันธุ์ของเพศหญิง | en_US |
Appears in Collections: | HUMAN: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Abstract.doc | Abstract (words) | 201.5 kB | Microsoft Word | View/Open Request a copy |
ABSTRACT.pdf | Abstract | 437.47 kB | Adobe PDF | View/Open |
full.pdf | Full IS | 2.27 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.