Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39352
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorDr.Isaraporn Pissa-ard-
dc.contributor.authorChawaloed Sittipattanaen_US
dc.date.accessioned2016-07-05T02:55:12Z-
dc.date.available2016-07-05T02:55:12Z-
dc.date.issued2558-04-
dc.identifier.urihttp://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39352-
dc.description.abstractThis study examines the portrayal of Northern Thai women in four selected Thai films from two periods of production. The selected films from the older period are Siang Sueng Tee Sunsai (1980) and Sankampang (1981), and the newer films are Puen Sanit (2005) and Home: Love, Happiness and Memories (2012). The first objective of this study is to explore the images of the leading female characters from the selected films in various aspects, such as characterization, social roles and status associated with social development, cultural and moral behaviors as well as relations of power with men, especially those from Central Thailand. The second objective is to find out if there are changes or improvement of Northern Thai women’s images as seen in the selected films. The study reveals that the physical beauty of Northern Thai women is emphasized more often in the old period films than in the newer ones. The old films also tend to focus more on Northern women’s involvement in the sex industry. Additionally, ideal images of Northern women as obedient daughter s or responsible and submissive wives often appear in older films, whereas newer films place more emphasis on women’s confidence, autonomy and economic independence. Furthermore, in the older films negative stereotypes of Northern Thai women are common while newer films reveal some attempts to challenge those stereotypes. As for women’s roles and status, Northern women in older films tend to be confined to the domestic sphere and most of them have no job, so they have to rely on men for financial support. Once leaving the domestic sphere, young Northern women are often depicted as involving in the sex trade. However, in the newer films, Northern women are shown as capable of earning their own salary or having more opportunities in education. Regarding male-female power relations, Northern women in older films are portrayed as subordinate to men, especially those from Central Thailand. In the newer films, however, there are some Northern women who are depicted as possessing superior ability and intelligence to their male counterparts. This more positive characterization of Northern Thai women could be seen as reflecting the impact of feminist movements on the representations of women in contemporary Thai films and other forms of media. Nonetheless, newer films also include Northern women who appear inferior to or dependent on men. This suggests that, despite the influence of feminist thoughts in modern Thailand, gender inequality is still a problematic issue that needs to be addressed in Thai society nowadays.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titlePORTRAYAL OF NORTHERN THAI WOMEN IN SELECTED THAI FILMS FROM TWO PERIODSen_US
dc.title.alternativeการนำเสนอภาพลักษณ์สตรีชาวเหนือ ในภาพยนตร์ไทยคัดสรรจากสองยุคen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยชิ้นนี้ศึกษาการนำเสนอภาพลักษณ์ของสตรีชาวเหนือในภาพยนตร์ไทยจากสองยุค จำนวน 4 เรื่อง ภาพยนตร์คัดสรรจากยุคเก่าได้แก่ เสียงซึงที่สันทราย (2523) กับ สันกำแพง (2524) และภาพยนตร์คัดสรรจากยุคใหม่ ได้แก่ เพื่อนสนิท (2548) กับ โฮม:ความรัก ความสุข ความทรงจำ (2555) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาภาพลักษณ์ของตัวละครที่นำเสนอบทบาทของสตรีชาวเหนือในภาพยนตร์จากทั้งสองยุค ซึ่งพิจารณาจากการวางลักษณะของตัวละคร บทบาทและสถานภาพที่มีผลมาจากการพัฒนาด้านสังคม พฤติกรรมที่เกี่ยววัฒนธรรมและศีลธรรม ตลอดจนความสัมพันธ์เชิงอำนาจกับเพศชายโดยเฉพาะผู้ที่มาจากภาคกลางของประเทศไทย 2) อธิบายการเปลี่ยนแปลงหรือพัฒนาการด้านการนำเสนอภาพลักษณ์ของตัวละครที่เป็นสตรีชาวเหนือในภาพยนตร์คัดสรรจากสองยุค จากการศึกษาพบว่า ภาพยนตร์คัดสรรจากยุคเก่าเน้นการนำเสนอภาพลักษณ์ด้านความงามของสตรีชาวเหนือ และนำเสนอเรื่องการค้าประเวณีของสตรีชาวเหนือ มากกว่าภาพยนตร์ยุคใหม่ นอกจากนี้ภาพมายาคติของการเป็นลูกสาวที่ว่านอนสอนง่าย หรือ ภรรยาที่มีความรับผิดชอบและอ่อนน้อมส่วนใหญ่ถูกนำเสนอในภาพยนตร์จากยุคเก่า ขณะที่ภาพยนตร์ยุคใหม่นำเสนอภาพลักษณ์ของผู้หญิงที่มั่นใจ เข้มแข็งเป็นตัวของตัวเอง และพึ่งตัวเองได้ในแง่เศรษฐกิจ นอกจากนี้การเหมารวมภาพลักษณ์ด้านลบปรากฏอยู่มากในภาพยนตร์จากยุคเก่า แต่ในภาพยนตร์ยุคใหม่มีความพยายามอยู่บ้างที่จะแย้งการเหมารวมภาพลักษณ์ด้านลบเหล่านี้ ด้านบทบาทและสถานภาพของสตรีชาวเหนือจากการศึกษาพบว่า สตรีชาวเหนือในภาพยนตร์ยุคเก่าถูกจำกัดบทบาทให้อยู่ภายในครอบครัว ส่วนใหญ่สตรีเหล่านี้ไม่มีงานทำจึงต้องพึ่งพาผู้ชายในการอุปถัมภ์ค้ำชูทางการเงิน เมื่อสตรีสาวชาวเหนือออกจากครอบครัวก็มักจะถูกนำเสนอว่าเข้าไปพัวพันกับการค้าประเวณี ในขณะที่ภาพยนตร์ยุคใหม่นำเสนอภาพลักษณ์ของสตรีชาวเหนือที่มีความสามารถในการหาเลี้ยงชีพหรือมีโอกาสทางการศึกษา สำหรับในด้านความสัมพันธ์เชิงอำนาจกับผู้ชายพบว่าสตรีชาวเหนือในภาพยนตร์ยุคเก่ามีสถานะเป็นรองผู้ชายโดยเฉพาะผู้ชายจากกรุงเทพ แต่ในภาพยนตร์ยุคใหม่บางเรื่องมีการนำเสนอภาพลักษณ์สตรีชาวเหนือบางรายว่ามีความสามารถมากกว่าและฉลาดกว่าผู้ชาย การนำเสนอภาพลักษณ์สตรีในแง่บวกมากขึ้นเช่นนี้อาจวิเคราะห์ได้ว่าเป็นผลสืบเนื่องมากจากการเคลื่อนไหวทางด้านสิทธิสตรีที่มีต่อการนำเสนอภาพแทนสตรีในภาพยนตร์และสื่ออื่นๆ อย่างไรก็ตามภาพยนตร์ยุคใหม่ก็ยังมีการนำเสนอภาพลักษณ์สตรีชาวเหนือว่าเป็นรองผู้ชายหรือต้องพึ่งผู้ชายอยู่ ผลการค้นพบนี้แสดงให้เห็นว่าแม้สังคมไทยปัจจุบันจะได้รับอิทธิพลจากแนวคิดแบบสตรีนิยม ปัญหาเรื่องความไม่เท่าเทียมกันทางเพศก็ยังเป็นปัญหาสำคัญที่ต้องการการแก้ไขen_US
Appears in Collections:HUMAN: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT-watermarked.docxAbstract (words)172.98 kBMicrosoft Word XMLView/Open    Request a copy
ABSTRACT.pdfAbstract280.41 kBAdobe PDFView/Open
full.pdfFull IS2.57 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.