Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39346
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Dr. Chalathip Wasuwat | - |
dc.contributor.author | Miss Suttira Kaewthep | en_US |
dc.date.accessioned | 2016-07-05T02:46:30Z | - |
dc.date.available | 2016-07-05T02:46:30Z | - |
dc.date.issued | 2558-04 | - |
dc.identifier.uri | http://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39346 | - |
dc.description.abstract | This qualitative Independent Study on Hayao Miyazaki’s animation Nausicaä of the Valley of the Wind aims to examine the relationship between women and nature under the concepts of ecofeminism and women’s empowerment through the portrayal of the relationship between Nausicaä, the protagonist, and nature as seen in setting, dialogues, and selected scenes in the film. The study reveals a close relationship between Nausicaä and nature through her ability to point out that humans, mutant insects, and Sea of Decay can peacefully coexist. Although portrayed as being just a young girl, Nausicaä possesses power and intelligence no less than a man would. She is not only excellent in fighting and leading her people in the Valley of the Wind to defend her village when it is invaded, but she also shows wisdom in discovering the fact that both the mutant insects and Sea of Decay are undergoing ecological process to heal a polluted nature. The image of Nausicaä as an empowered woman reverses the old stereotype of women as being weak, submissive, and oppressed and can inspires the audience, especially the female members of it, to realize the power within themselves. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | CONCEPTS OF ECOFEMINISM AND WOMEN’S EMPOWERMENT IN HAYAO MIYAZAKI’S ANIMATION FILM NAUSICAÄ OF THE VALLEY OF THE WIND | en_US |
dc.title.alternative | แนวคิดด้านสตรีนิยมเชิงนิเวศน์และการเพิ่มอำนาจของสตรีในภาพยนตร์แอนิเมชันของฮายาโอะ มิยาซากิ เรื่อง มหาสงครามหุบเขาแห่งสายลม | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การค้นคว้าแบบอิสระเชิงคุณภาพในภาพยนตร์แอนิเมชันของฮายาโอะ มิยาซากิ เรื่อง มหาสงครามหุบเขาแห่งสายลม มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างผู้หญิงและธรรมชาติภายใต้แนวคิดสตรีนิยมเชิงนิเวศน์และการเพิ่มอำนาจของสตรีซึ่งนำเสนอผ่านความสัมพันธ์ระหว่างเนาซิก้าผู้เป็นตัวละครหลักของเรื่องและธรรมชาติตามที่ปรากฏในฉาก บทสนทนา และฉากภาพยนตร์ที่คัดเลือกมาจากภาพยนตร์แอนิเมชันเรื่องนี้ การศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์อันใกล้ชิดระหว่างเนาซิก้าและธรรมชาติผ่านความสามารถของเธอที่จะชี้ให้เห็นว่ามนุษย์ แมลงกลายพันธุ์ และทะเลแห่งความเสื่อมสลายสามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างสงบสุข แม้จะถูกมองว่าเป็นเพียงเด็กสาว แต่เนาซิก้าก็เปี่ยมไปด้วยพลังและสติปัญญาไม่น้อยกว่าชายใด เธอไม่เพียงแต่จะมีพลังความสามารถอันยอดเยี่ยมในการต่อสู้และเป็นผู้นำให้กับคนในหมู่บ้านหุบเขาแห่งสายลมเพื่อต่อสู้ปกป้องบ้านเมืองเมื่อถูกรุกราน แต่เธอยังมีสติปัญญาอันชาญฉลาด ค้นพบความจริงที่ว่าทั้งแมลงกลายพันธุ์และทะเลแห่งความเสื่อมสลายต่างอยู่ภายใต้กระบวนการทางนิเวศวิทยาเพื่อรักษาธรรมชาติที่ถูกปนเปื้อน ภาพลักษณ์ของเนาซิก้าซึ่งถูกถ่ายทอดออกมาให้เป็นผู้หญิงที่เปี่ยมไปด้วยศักยภาพได้พลิกภาพพจน์เก่าของผู้หญิงที่ถูกมองว่าอ่อนแอ ว่าง่าย และถูกกดขี่ และภาพลักษณ์สตรีที่เปี่ยมไปด้วยศักยภาพนี้เองจะเป็นแรงบันดาลใจให้ผู้ชมโดยเฉพาะอย่างยิ่งเพศหญิงตระหนักถึงพลังภายในตัวเอง | en_US |
Appears in Collections: | HUMAN: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ABSTRACT 1-watermark.docx | Abstract (words) | 48.34 kB | Microsoft Word XML | View/Open Request a copy |
ABSTRACT.pdf | 354 kB | Adobe PDF | View/Open | |
full.pdf | Full IS | 2.61 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.