Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39291
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรองศาสตราจารย์ ดร. ธเนศ ศรีวิชัยลำพันธ์-
dc.contributor.advisorรองศาสตราจารย์ ดร. กาญจนา โชคถาวร-
dc.contributor.authorสุรัตน์ จี้ฟูen_US
dc.date.accessioned2016-05-03T03:55:08Z-
dc.date.available2016-05-03T03:55:08Z-
dc.date.issued2557-09-
dc.identifier.urihttp://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39291-
dc.description.abstractThis Independent Study had the objectives of studying 1) the understanding of the Efficiency Economic Philosophy among the high school students of Theerakarnbanhong School, 2) the students’ attitude toward the philosophy and the problems and barriers to adapting the philosophy to Thai life. The data was collected from 600 high school students of Theerakarnbanhong School in the academic year 2013. The data was analyzed by descriptive statistics of frequency distribution, mean (x ̅) and percentage. The study results revealed that the majority of the students were female (69.7%). Their overall knowledge and understanding of the Sufficiency Economy Philosophy was at the highest level, which was in such aspects as it could be applied to people to live sufficiently and be self-reliant as well as to live happily according to their personal condition. Moreover, the philosophy could help people coexist sustainably with nature and the environment without destroying it, but value it instead while being conscious of preserving the natural resources as well as the environment. The students’ knowledge and understanding was at a high level in such aspects as being moderate in all things according to their situation without troubling oneself or others; in particular observing the ethics of Sufficiency Economy: being honest, patient, persevering, conducting one’s life by wisdom and reason along with making decisions carefully. Their overall attitude toward the philosophy was at the highest level in such aspects as knowing that a moderate living according to one’s condition would result in happiness and that a sound and careful decision would lead them to a smooth way of life while abiding in morality was important in assuring them of true happiness. The kind of attitude that was ranked at a high level also involved the belief that the philosophy could bring success and security that are sustainable and it would be a sure way for the country’s development and to apply the Sufficiency Economy Philosophy effectively required proper knowledge and understanding. The problems and barriers to adapting the philosophy to their lives that the students of Theerakarnbanhong School ranked the highest (58.0%) was lacking a good model for the society.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleทัศนคติของนักเรียนต่อการนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ : กรณีศึกษานักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนธีรการท์บ้านโฮ่ง อำเภอบ้านโฮ่ง จังหวัดลำพูนen_US
dc.title.alternativeAttitude of Students Toward Application of Sufficiency Economy Philosophy: A Case Study of Theerakarnbanhong, Ban Hong District, Lamphun Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)-
thailis.classification.ddc330.9593-
thailis.controlvocab.thashโรงเรียนธีรกานท์บ้านโฮ่ง-
thailis.controlvocab.thashปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง -- บ้านโฮ่ง (ลำพูน)-
thailis.controlvocab.thashนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย -- ทัศนคติ -- บ้านโฮ่ง (ลำพูน)-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 330.9593 ส4711ท-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาค้นคว้าแบบอิสระครั้งนี้มีวัตถุประวงค์เพื่อศึกษาถึง (1) ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนธีรกานท์บ้านโฮ่ง (2) ทัศนคติของรักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนธีรกานท์บ้านโฮ่งที่มีต่อแนวคิดตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (3) ปัญหาและอุปสรรคในการนำเอาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปปรับใช้ในการดำเนิชีวิตของนักเรียนระดับชั้นมธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนธรกานท์บ้านโฮ่ง ส่วนข้อมูลที่ใช่ในการศึกษาได้มาจากการสำรวจนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนธีรกานท์บ้านโฮ่ง ปีการศึกษา 2556 ทั้งหมดจำนวน 600 คน และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าเฉลี่ย และ ร้อยละ ผลการศึกษาพบว่า นักเรียนส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงมากที่สุดคิดเป็นร้อยละ 69.7 ส่วนใหญ่มีความรู้ความเข้าใจต่อแนวคิดของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุดได้แก่ สมารถนำไปใช้กับทุกคนทุกอาชีพทุกวัน และทุกสังคม ช่วยให้มนุษย์มีความพออยู่พอกิน พอใช้ พึ่งตนเองได้ และมีความสุขตามอัตภาพ ช่วยให้มนุษย์อยู่ร่วมกับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้อย่างยั่งยืนโดยไม่ทำลาย เห็นคุณค่าและมีจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รองลงมามีความรู้ความเข้าใจระดับมาก ได้แก่ ความพอประมาณตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงเป็นการทำอะไรที่พอเหมาะ พอดี กับสภาพของตนเอง ไม่มากเกินไป ไม่น้อยเกินไป ไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น คุณธรรมตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงคือ การมีความซื่อสัตย์สุจริต มีความอดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการใช้ชีวิตอย่างเหมาะสม ความมีเหตุผลตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง เป็นการตัดสินใจอย่างมีสติรอบคอบ ไม่ประมาท ด้านทัศนคติที่มีต่อแนวคิดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ได้แก่ คิดว่าการใช้ชีวิตโดยรู้จักประมาณตน จะทำให้เราอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข และไม่เดือดร้อน คิดว่าการตัดสินใจอย่างมีเหตุผล รอบคอบ ระมัดระวัง จะช่วยให้ดำเนินชีวิตได้อย่างราบรื่น คิดว่าการมีคุณธรรมเป็นสิ่งสำคัญมากที่จะช่วยให้คนเรามีความสุขในชีวิตได้อย่างแท้จริง รองลงมามีทัศนคติระดับมาก ได้แก่ เชื่อว่าแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงเป็นแนวทางในการดำเนินชีวิตหรือการประพฤติปฏิบัติตนที่จะทำให้ประสบความสำเร็จในชีวิตได้อย่างมั่นคงและยั่งยืน เชื่อว่าแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง เป็นแนวทางในการพัฒนาประเทศได้อย่างมั่นคงแน่นอน เชื่อว่าการประยุกต์ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงให้ได้ผลในการดำเนินชีวิตจำเป็นต้องมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง ด้านปัญหาอุปสรรคที่มีต่อการนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้ในกาดำเนินชีวิติของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนธีรกานท์บ้านโฮ่ง โดยรวมมากที่สุด ได้แก่ การขาดแบบอย่างที่ดีในสังคมคิดเป็นร้อยละ 58.0en_US
Appears in Collections:SOC: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.pdfABSTRACT943.59 kBAdobe PDFView/Open
APPENDIX.pdfAPPENDIX635.31 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 1.pdfCHAPTER 1173.25 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 2.pdfCHAPTER 2406.58 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 3.pdfCHAPTER 3277.88 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 4.pdfCHAPTER 4581.04 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 5.pdfCHAPTER 5398.23 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CONTENT.pdfCONTENT246.74 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
COVER.pdfCOVER910.1 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
REFERENCE.pdfREFERENCE238.8 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.