Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39285
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ผศ.ดร.นิสิต พันธมิตร | - |
dc.contributor.advisor | อ.ดร.จารึก สิงหปรีชา | - |
dc.contributor.author | ณัฐชา นวลคำมา | en_US |
dc.date.accessioned | 2016-03-08T08:25:32Z | - |
dc.date.available | 2016-03-08T08:25:32Z | - |
dc.date.issued | 2557-09-11 | - |
dc.identifier.uri | http://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39285 | - |
dc.description.abstract | This study discovers the impact of agricultural export and economic variables on food security in Thailand. The variables are classified into dependent variable per capita food availability and independent such as agricultural Export, unemployment, agricultural production, GDP per capita, employment in agriculture, mortality rate under-5 and agricultural land and covers the period from 1980 to 2011. This study mostly used secondary and annual data of each variable; the boundstest (ARDL) approach to co-integration was employed in this study. Texting unit root of each variable is required before co-integration test is conducted. This study employed unit root test Augmented Dickey-fuller (ADF Test). This test revealed that mortality rate and under 5 and agricultural land were stationary at level I(2), but the other were stationary at level I(1). Consequently, all variable were stationary with different order mixing I(1) and I(2). Autoregressive Distribution Lags (ARDL) was appropriate for testing co-integration. The long-run results indicated that agricultural Export, agricultural production, GDP per capita, mortality rate under-5 and employment in agriculture were positive impact on per capita food availability or food security, but the another was negative. The short-run outcome from Error correction model (ECM) suggested that mortality rate under-5 was negative impact on per capita food availability or food security but other was positive. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | สินค้าเกษตร | en_US |
dc.subject | สินค้าออก | en_US |
dc.subject | อาหาร--ไทย | en_US |
dc.title | ผลกระทบของการส่งออกสินค้าในภาคการเกษตรต่อความมั่นคงทางอาหารในประเทศไทย | en_US |
dc.title.alternative | Impact of agricultural export on food security in Thailand | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.classification.ddc | 382.6 | - |
thailis.controlvocab.thash | สินค้าออก | - |
thailis.controlvocab.thash | สินค้าเกษตร | - |
thailis.manuscript.source | ว 382.6 ณ113ผ | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความมั่นคงทางอาหารและการส่งออกสินค้าเกษตรกลุ่มประเภทอาหาร รวมไปถึงปัจจัยทางเศรษฐกิจที่มีผลกระทบต่อความมั่นคงทางอาหาร โดยตัวแปรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ความพร้อมในการมี (เข้าถึง) อาหารต่อคนหรือความมั่นคงทางอาหาร,การส่งออกสินค้าเกษตรกลุ่มประเภทอาหาร,อัตราการว่างงาน,ปริมาณผลผลิตสินค้าเกษตรในประเทศ,รายได้ต่อหัว,จำนวนแรงงานในภาคการเกษตร,อัตราการตายของเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี และพื้นที่ทางการเกษตร สำหรับข้อมูลที่ใช้เป็นข้อมูลทุติยภูมิรายปี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2523 ถึงปี พ.ศ. 2554 โดยการศึกษาครั้งนี้ใช้การวิเคราะห์ทางเศรษฐมิติ ด้วยแบบจำลอง Auto-regressive Distributed lagged (ARDL) ผลการศึกษาพบว่าจากการทดสอบความนิ่งของข้อมูลที่ใช้ในการศึกษา โดยวิธีอ๊อกเม้นต์เทดดิกกี้-ฟลูเลอร์(ADF Test) นั้นพบว่าตัวแปรทุกตัวมีความนิ่งของข้อมูลในระดับเดียวกันคือที่ระดับ I(1) ยกเว้นอัตราการตายของเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี และพื้นที่ทางการเกษตรที่มีลักษณะนิ่งที่ I(2) ในส่วนของการปรับตัวในระยะยาวนั้นพบว่าการส่งออกสินค้าเกษตรกรรมกลุ่มประเภทอาหาร, ปริมาณผลผลิตสินค้าเกษตรในประเทศ , รายได้ต่อหัว,อัตราการตายของเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี, และจำนวนแรงงานในภาคการเกษตร มีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกันกับความมั่นคงทางอาหาร(ความพร้อมในการมี (เข้าถึง) อาหาร) หรือมีความสัมพันธ์ในทิศทางบวก ส่วนพื้นที่ทางการเกษตรมีความสัมพันธ์ในทิศทางตรงกันข้ามกันกับความมั่นคงทางอาหาร(ความพร้อมในการมี (เข้าถึง) อาหาร)หรือมีความสัมพันธ์ในทิศทางลบ ส่วนอัตราการว่างงานไม่สามารถอธิบายสัมพันธ์ของความมั่นคงทางอาหาร(ความพร้อมในการมี (เข้าถึง) อาหาร) ในส่วนของผลการทดสอบหาความสัมพันธ์เชิงดุลภาพระยะสั้น (ECM) พบว่า การส่งออกสินค้าเกษตรกลุ่มประเภทอาหาร, ปริมาณผลผลิตข้าวในประเทศ, รายได้ต่อครัวเรือน,จำนวนแรงงานในภาคการเกษตรมีความสัมพันธ์ในทิศทางบวกต่อความมั่นคงทางอาหาร(ความพร้อมในการมี(เข้าถึง)อาหาร) ส่วนอัตราการตายของเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี มีผลกระทบในทางลบต่อความมั่นคงทางอาหาร(ความพร้อมในการมี(เข้าถึง)อาหาร) ส่วนอัตราการว่างงานและพื้นที่ทางการเกษตรไม่สามารถอธิบายสัมพันธ์ของความมั่นคงทางอาหาร | en_US |
Appears in Collections: | ECON: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ABSTRACT.pdf | ABSTRACT | 237.24 kB | Adobe PDF | View/Open |
APPENDIX.pdf | APPENDIX | 837.63 kB | Adobe PDF | View/Open |
CHAPTER 1.pdf | CHAPTER 1 | 384.02 kB | Adobe PDF | View/Open |
CHAPTER 2.pdf | CHAPTER 2 | 554.87 kB | Adobe PDF | View/Open |
CHAPTER 3.pdf | CHAPTER 3 | 340.25 kB | Adobe PDF | View/Open |
CHAPTER 4.pdf | CHAPTER 4 | 311.2 kB | Adobe PDF | View/Open |
CHAPTER 5.pdf | CHAPTER 5 | 246.02 kB | Adobe PDF | View/Open |
CONTENT.pdf | CONTENT | 227.31 kB | Adobe PDF | View/Open |
COVER.pdf | COVER | 618.06 kB | Adobe PDF | View/Open |
REFERENCE.pdf | REFERENCE | 320.98 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.