Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80276
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Saisamorn Lumyong | - |
dc.contributor.advisor | Hyde, Kevin D. | - |
dc.contributor.advisor | De Farias, Antonio Roberto Gomes | - |
dc.contributor.author | S. H. M. R. Nethmini Prabodha Samaradiwakakara | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-11-28T18:39:40Z | - |
dc.date.available | 2024-11-28T18:39:40Z | - |
dc.date.issued | 2024-10-01 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80276 | - |
dc.description.abstract | Leaf litter is an essential functional aspect of forest ecosystems, acting as a source of organic matter, a protective layer in forest soils, and a nurturing habitat for micro- and macro-organisms. Through their successional occurrence, litter-inhabiting microfungi play a key role in litter decomposition and nutrient recycling. Despite their importance in terrestrial ecosystems and their abundance and diversity, information on the taxonomy, diversity, and host preference of these decomposer taxa is scarce. The present study aimed to elucidate saprobic leaf-litter fungal diversity in six phylogenetically related host species in Doi Tung, Chiang Rai province, Thailand, using morphological characters and multi-locus phylogeny. Tree species are Dipterocarpus alatus (Dipterocarpaceae), Nayariophyton zizyphifolium and Microcos paniculata (Malvaceae), Afzelia xylocarpa, Dalbergia cana, and Dalbergia cultrata (Fabaceae), located in Doi Tung, Chiang Rai province. We hypothesized that host species phylogeny significantly influences the diversity of fungal communities, and that each community is unique across phylogenetically distantly related host species. For each host species, three replicates were assigned. Fallen senescent leaves were randomly collected beneath the canopy of each host species were taken back to the laboratory in separate paper bags and observed for ix the saprobic fungi associated with each host. Moisture chambers were established for dry litter samples to favour the emergence of saprobic fungal taxa. Samples were observed for visible fruiting structures. For ascomycetes freehand sectioning, hyphomycetes specimens were directly picked for documenting morphological characters. A light microscope, coupled with Nikon DS-U2 and a Cannon 750D camera, was used to capture digital images. The single-spore-isolation method was used, to obtain pure cultures. Molecular sequence data were obtained through DNA extraction, polymerase chain reaction, agarose gel electrophoresis and sequencing. Sequences were analyzed, and phylogenetic trees were developed using maximum likelihood, maximum parsimony and Bayesian inference. The study generated evidence of multiple levels of diversity and host preference of leaf litter fungi. Results revealed one novel family, two novel genera and 16 new species generating evidence for multiple levels of diversity and host preference of leaf litter fungi. Most reported taxa belonged to the Dothideomycetes and Sordariomycetes, distributed among two classes, 25 families and 34 genera. Moreover, the study generated sexual asexual connections for Allophoma tropica and Diplodia guttulata providing the complete life cycle of these species. Most saprobes indicated host exclusivity and lower overlap between hosts. Higher levels of host phylogeny as family levels indicated to harbour a greater number of unique saprobic taxa rather than lower levels of host phylogeny as host species or genus levels. Moreover, the saprobic fungal community was influenced by the seasonal effect dominant during the collecting period. A core group of fungi could be identified as “generalists” observed in all the host species. The study highlights the diversity of saprobes dwelling inside the leaf litter of forest ecosystems and reveals their high degree of host specificity. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.subject | Dothideomycetes | en_US |
dc.subject | Sordariomycetes | en_US |
dc.subject | Saprobes | en_US |
dc.subject | Host-preference | en_US |
dc.subject | Phylogeny | en_US |
dc.title | Diversity, taxonomy and host preference of leaf litter inhabiting microfungi in Doi Tung, Chiang Rai Province, Thailand | en_US |
dc.title.alternative | ความหลากหลาย อนุกรมวิธานและโฮสต์ที่ชอบอาศัยของราขนาดเล็กในซากใบไม้ในดอยตุง จังหวัดเชียงราย ประเทศไทย | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.lcsh | Doi Tung | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Biotic communities | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Biodiversity | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Forest biodiversity | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Fungi | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Fungi -- Ecology | - |
thesis.degree | doctoral | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | ซากใบไม้เป็นส่วนที่มีบทบาทสาคัญในระบบนิเวศป่าไม้ โดยเป็นแหล่งของสารอินทรียวัตถุ เป็นชั้นที่ช่วยป้องกันดินในป่า และเป็นที่อยู่อาศัยที่หล่อเลี้ยงสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กและขนาดใหญ่ เชื้อราขนาดเล็กที่อาศัยบนซากใบไม้มีบทบาทสาคัญในการย่อยสลายซากพืชและการหมุนเวียนสารอาหารอย่างต่อเนื่อง ถึงแม้เชื้อราจะมีความสาคัญในระบบนิเวศทางบกและด้านความอุดมสมบูรณ์และความหลากหลาย แต่ข้อมูลเกี่ยวกับอนุกรมวิธาน ความหลากหลาย และโฮสต์ที่ชอบอาศัยยังมีจากัด การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความหลากหลายของเชื้อราในซากใบไม้ ของโฮสต์ที่มีความสัมพันธ์เชิงวิวัฒนาการชาติพันธุ์ จานวน 6 ชนิด ได้แก่ Dipterocarpus alatus (Dipterocarpaceae), Nayariophyton zizyphifolium และ Microcos paniculata (Malvaceae), Aflezia xylocarpa, Dalbergia cana และ Dalbergia cultrata (Fabaceae) ในดอยตุง จังหวัดเชียงราย ประเทศไทย โดยใช้ลักษณะทางสัณฐานวิทยาและวงศ์วานวิวัฒนาการของเชื้อรา โดยตั้งสมมติฐานว่าวิวัฒนาการของชนิดโฮสต์มีอิทธิพลอย่างมีนัยสาคัญต่อความหลากหลายของชุมชีพเชื้อรา และในแต่ละชุมชีพเชื้อรามีเอกลักษณ์เฉพาะตัวแตกต่างไปตามชนิดของโฮสต์ที่มีความสัมพันธ์เชิงวิวัฒนาการที่ห่างไกลกัน ทาการทดลองสามซ้าสาหรับโฮสต์แต่ละชนิด สุ่ม vii เก็บใบแก่ที่ร่วงหล่นจากใต้ร่มไม้ของโฮสต์แต่ละชนิด ใส่ในถุงกระดาษและนากลับไปที่ห้องปฏิบัติการ เพื่อสารวจเชื้อราแซพโพรบที่เกี่ยวข้องกับแต่ละโฮสต์ นาตัวอย่างใบไม้แห้งมาบ่มในกล่องพลาสติกและให้ความชื้นเพื่อช่วยให้เชื้อรามีการเจริญเติบโต สังเกตโครงสร้างของเชื้อราที่มองเห็นได้ สาหรับเชื้อราแอสโคมัยซีสจะตัดโครงสร้างของเชื้อตามขวางโดยใช้ใบมีดโกน ส่วนเชื้อราไฮโฟไมซีตส์เขี่ยเชื้อมาทาโดยตรง เพื่อสังเกตและบันทึกลักษณะทางสัณฐานวิทยาโดยถ่ายภาพดิจิทัล ภายใต้กล้องจุลทรรศน์แบบเลนส์ประกอบร่วมกับกล้อง Nikon DS-U2 และ Cannon 750D ใช้วิธีการแยกสปอร์เดี่ยวเพื่อให้ได้เชื้อราที่บริสุทธิ์ ข้อมูลทางชีวโมเลกุลได้มาจากการสกัดดีเอ็นเอ ปฏิกิริยาลูกโซ่โพลีเมอเรส เจลอะกาโรสอิเล็กโตรโฟเรซิส และการวิเคราะห์ลาดับเบส ข้อมูลที่ได้นามาสร้างแผนภูมิต้นไม้วิวัฒนาการชาติพันธุ์ด้วยวิธี maximum likelihood, maximum parsimony และ Bayesian inference การศึกษานี้พบความหลากหลายของเชื้อราและความชอบของโฮสต์ในซากใบไม้หลายระดับ โดยได้ค้นพบเชื้อรา 1 วงศ์ใหม่ 2 สกุลใหม่ และ 16 สปีชีส์ใหม่ เชื้อราที่พบส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่ม Dothideomycetes และ Sordariomycetes ซึ่งกระจายอยู่ในสองชั้น 25 วงศ์ และ 34 สกุล นอกจากนี้ได้รายงานความสัมพันธ์ของเชื้อราแบบอาศัยเพศและแบบไม่อาศัยเพศสาหรับ Allophoma tropica และ Diplodia guttulata ทาให้ได้ข้อมูลวงจรชีวิตของราชนิดนี้ที่สมบูรณ์ เชื้อราแซพโพรบส่วนใหญ่มีความจาเพาะต่อโฮสต์ โดยชนิดของเชื้อราที่พบในแต่ละโฮสต์มีความคล้ายกันต่า ระดับสายวิวัฒนาการชาติพันธุ์ของโฮสต์ที่สูงกว่า เช่น ระดับวงศ์ เป็นตัวบ่งชี้เอกลักษณ์ของเชื้อราแซพโพรบมากกว่าระดับสายวิวัฒนาการชาติพันธุ์ของโฮสต์ที่ต่ากว่า เช่น ระดับสกุลหรือสปีชีส์ นอกจากนี้ชุมชีพของเชื้อราแซพโพรบยังได้รับอิทธิพลอย่างเด่นชัดจากฤดูกาลที่เก็บตัวอย่าง และสามารถระบุกลุ่มหลักของเชื้อราได้ว่าเป็น “กลุ่มทั่วไป” ที่พบได้ในโฮสต์ทุกชนิด การศึกษานี้เน้นถึงความหลากหลายของเชื้อราแซพโพรบที่อาศัยอยู่ในซากใบไม้ในระบบนิเวศป่าไม้ และเผยให้เห็นถึงความจาเพาะระดับสูงต่อโฮสต์ | en_US |
Appears in Collections: | SCIENCE: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Thesis_Nethmini_630555807.pdf | 33 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.