Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80204
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorAhmad Yahya Dawod-
dc.contributor.advisorPiang-or Laohavilai-
dc.contributor.advisorNopasit Chakpitak-
dc.contributor.authorWarinthrone Vasuwaten_US
dc.date.accessioned2024-11-19T11:25:35Z-
dc.date.available2024-11-19T11:25:35Z-
dc.date.issued2024-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80204-
dc.description.abstractMany significant global organizations, such as UNESCO, OECD, World Bank, UKCES, and the World Economic Forum (WEF), along with Thailand’s economic and social development plan (2023-2027), have established frameworks and policies for future education in 2030. Their vision emphasizes the need for learners to integrate digital technology knowledge with entrepreneurial competencies. This integration aims to enhance students’ knowledge, abilities, and intelligence, enabling them to create new platforms or models that will elevate future business competition. In addition, statistical data and numerous studies indicated that to achieve successful and sustainable economic and societal development, it is crucial to start by enhancing the knowledge, understanding, and potential of the nation’s youth in digital innovation and entrepreneurship. Moreover, it was found that secondary education in Thailand lacks a curriculum and development model for digital entrepreneurs. To address this gap, a digital entrepreneurial intelligence (DEI) development model was proposed, building on the principles and theories of the Whole Brain Literacy (WBL) educational program, or Four Human Brain Functions. This approach can better develop and connect learners’ intelligence levels and enhance learning styles beyond the traditional focus on knowledge and understanding. Importantly, no prior academic studies or research have explored this topic. The research, conducted at Montfort College, Chiang Mai, Thailand, between 2020 and 2023, involved 2,360 secondary students. The research method was divided into three steps: First, survey research was conducted to analyze the relationship between the expectations of students and stakeholders towards the entrepreneurship learning management and the brain functions, leading to the creation of DEI – Prototype 1. Next, correlational research analyzed the relationship between the independent variables—digital entrepreneurship and entrepreneurship, and the dependent variables—digital intelligence and entrepreneurial intelligence, to develop DEI – Prototype 2. Finally, in the experimental research, the prototype models from the first two steps were used to design the digital entrepreneurial intelligence (DEI) development model based on WBL principles. This model, which includes four related factors (digital intelligence, entrepreneurial intelligence, digital entrepreneurship, and entrepreneurship), was tested by dividing the sample population into a control group and an experimental group over one semester (20 weeks, totaling 100 hours). After this experiment, the researcher found the DEI – WBL Prototype had a positive and statistically significant impact on the experimental group (p-value < 0.05). The average DEI development increased from 30.50% to 83.50%. In contrast, there was no significant difference in DEI development before and after the experiment in the control group. Additionally, hobbies related to sports, art, and technology had a positive impact on DEI development. Therefore, it is proven that the DEI – WBL Prototype effectively enhances the digital entrepreneurial intelligence of secondary students. This model can also be used to create teaching and learning strategies and formulate policies to develop DEI for secondary students.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleThe Development of digital entrepreneurial intelligence using Whole Brain Literacy (WBL) among secondary studentsen_US
dc.title.alternativeการพัฒนาเชาว์ปัญญาด้านภาวะผู้ประกอบการดิจิทัลโดยใช้กระบวนการ Whole Brain Literacy (WBL) ในนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาen_US
dc.typeThesis-
thailis.controlvocab.lcshEducation, Secondary-
thailis.controlvocab.thashNew business enterprises-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractองค์กรที่มีสำคัญในระดับโลกมากมาย อาทิเช่น UNESCO, OECD, World Bank, UKCES รวมถึงWorld Economic Forum (WEF) เป็นต้น อีกทั้ง แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และ สังคมของประเทศไทย (2023 - 2027) นั้น ได้นำเสนอกรอบแนวทาง และ กำหนดนโยบายการศึกษาของโลกในอนาคต ในปี ค.ศ. 2030 ไว้ โดยมีจุดมุ่งหมายที่คล้ายคลึงกัน ดังนี้ คือ การศึกษาในอนาคตนั้นผู้เรียนจะต้องสามารถเชื่อมโยงระหว่างความรู้ด้านเทคโนโลยีดิจิทัล และ สมรรถนะทางด้านภาวะผู้ประกอบการเข้าไว้ด้วยกัน เพื่อเพิ่มศักยภาพทางความรู้ความสามารถ รวมไปถึงการพัฒนาด้านเชาว์ปัญญา – ระดับสติปัญญาของผู้เรียนที่สามารถใช้องค์ความรู้ดังกล่าวในการสร้างแพลตฟอร์ม หรือโมเดลใหม่ๆ เพื่อยกระดับการแข่งขันทางธุรกิจในอนาคตได้ และนอกจากนี้ยังพบว่า มีความเชื่อมโยงจากสถิติ และ งานวิจัยหลายแห่งที่นำเสนอประเด็นที่ว่า หากต้องการที่จะขับเคลื่อนสภาพเศรษฐกิจ และสังคมของประเทศให้ประสบความสำเร็จ และ ยั่งยืนในอนาคตได้นั้น จำเป็นที่จะต้องเริ่ม และ เร่งพัฒนาเยาวชนของชาติให้มีความรู้, ความเข้าใจ และ ศักยภาพด้านนวัตกรรมดิจิทัล และ ผู้ประกอบการก่อนเป็นอันดับแรก เป็นต้น อีกทั้งผู้วิจัยได้ศึกษาเพิ่มเติม พบว่า การเรียนการสอนของประเทศไทยในระดับชั้นมัธยมศึกษานั้น ยังขาดหลักสูตร และ รูปแบบการพัฒนาด้านผู้ประกอบการดิจิทัล ด้วยเหตุนี้ ผู้วิจัยจึงได้นำเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหาด้วยการใช้ต้นแบบการพัฒนา Digital Entrepreneurial Intelligence (DEI) ซึ่งออกแบบ และ พัฒนา – ต่อยอดมาจากหลักการ- ทฤษฎีทางการศึกษาที่มีชื่อว่า Whole Brain Literacy (WBL) หรือ Four Human Brain Functions ซึ่งสามารถพัฒนา และ เชื่อมโยงจนถึงระดับขั้นเชาวน์ปัญญาของผู้เรียน โดยสามารถยกระดับรูปแบบการเรียนรู้ได้ดีกว่าการศึกษาในปัจจุบันที่มักมุ่งเน้นไปที่ด้านความรู้ และ ความเข้าใจเพียงเท่านั้น และที่สำคัญยังไม่ปรากฏหลักฐานทางวิชาการว่าได้มีการศึกษาและค้นคว้าในลักษณะแบบนี้มาก่อน ทั้งนี้การวิจัยได้ดำเนินการที่โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย เชียงใหม่ ประเทศไทย ระหว่างปี ค.ศ. 2020 – 2023 โดยกลุ่มตัวอย่างประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ เป็นนักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษา รวมจำนวนทั้งสิ้น 2,360 คน ระเบียบวิธีวิจัยได้แบ่งออกเป็น 3 ขั้นตอน เริ่มต้นจากการวิจัยในเชิงสำรวจเพื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างความคาดหวังของผู้เรียน – ผู้ที่มีส่วนได้เสีย ต่อการจัดการเรียนรู้ด้านภาวะผู้ประกอบการ และ ลักษณะการทำงานของสมอง เพื่อสร้างเป็น DEI – Prototype 1 จากนั้นทำการวิจัยแบบ Correlational Research เพื่อวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต้น คือ Digital Entrepreneurship – Entrepreneurship และ ตัวแปรตาม คือ Digital Intelligence – Entrepreneurial Intelligence เพื่อนำสร้างเป็นต้นแบบ DEI – Prototype 2 และในขั้นตอนสุดท้าย นำต้นแบบจำลองที่จากขั้นตอนที่ 1 และ 2 มาออกแบบรูปแบบการพัฒนา Digital Entrepreneurial Intelligence (DEI) บนหลักการของ WBL ซึ่งประกอบไปด้วยปัจจัยด้านที่เกี่ยวข้อง จำนวน 4 ด้าน คือ Digital Intelligence, Entrepreneurial Intelligence, Digital Entrepreneurship และ Entrepreneurship โดยทำการวิจัยแบบ Experimental Research แบ่งกลุ่มตัวอย่างประชากรในการทดลองออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มควบคุม และ กลุ่มทดลอง เป็นระยะเวลา 1 ภาคเรียน หรือ 20 สัปดาห์ รวมทั้งสิ้น 100 ชั่วโมง หลังจากการทดลองในครั้งนี้ ผู้วิจัยพบว่า DEI – WBL Prototype ส่งผลเชิงบวกต่อกลุ่มตัวอย่างประชากรทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (ที่ระดับนัยยะสำคัญทางสถิติ p-value < 0.05) และ มีค่าเฉลี่ยของพัฒนาการด้าน DEI เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 30.50 เป็นร้อยละ 83.50 แต่ไม่พบความแตกต่างของการพัฒนาด้าน DEI ทั้งก่อน และ หลังการทดลองในกลุ่มตัวอย่างประชากรควบคุม และนอกจากนี้ยังพบว่า กิจกรรมยามว่างของกลุ่มตัวอย่างประชากรทดลองในด้านกีฬา, ด้านศิลปะ และ ด้านเทคโนโลยี นั้นเป็นปัจจัยรองที่ส่งผลต่อกระทบในเชิงบวกต่อการพัฒนาด้าน DEI เช่นเดียวกัน จึงพิสูจน์ได้ว่า ต้นแบบจำลอง DEI – WBL Prototype ที่ใช้ทดลองในการพัฒนาด้าน DEI ในครั้งนี้ สามารถช่วยในการพัฒนาด้าน Digital Entrepreneurial Intelligence (DEI) ของนักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาได้จริง พร้อมกันนี้ผู้วิจัยยังสามารถนำไปสร้างรูปแบบการจัดการเรียนการสอน และ นำไปกำหนดเป็นนโยบายในการพัฒนาด้าน DEI ของนักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาอีกด้วยen_US
thesis.concealPublish (Not conceal)en_US
Appears in Collections:ICDI: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
622455902-WARINTHRONE VASUWAT.pdf29.39 MBAdobe PDFView/Open


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.