Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80193
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมใจ ศิระกมล-
dc.contributor.advisorเพชรสุนีย์ ทั้งเจริญกล-
dc.contributor.authorพิชามญชุ ์ อินแสนen_US
dc.date.accessioned2024-11-19T01:32:06Z-
dc.date.available2024-11-19T01:32:06Z-
dc.date.issued2023-08-31-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80193-
dc.description.abstractQuality of nursing documentation is an important indicator demonstrating that nurses have achieved standards of nursing practice. This developmental study aims to improve the quality of nursing recording in the operating room at Phrae hospital, Phrae province, using the continuous quality improvement process, FOCUS-PDCA (FOCUS-PDCA: find, organize, clarify, understand, select, plan, do, check, and act). The population included 4 senior professional nurses who were a member of the quality development team and 28 professional nurses who were in the nursing documentation team. The sample group included the nursing records of inpatients undergoing surgery in the orthopedic and obstetrics departments in the operating room at Phrae hospital. Forty records were selected using simple random sampling after the implementation from February 1, 2023 to March 31, 2023. The tools used for this study included: 1) an interview guide asking about nursing recording problems in the operating room at Phrae Hospital, 2) a questionnaire for collecting nurses' opinions regarding the use of the nursing record form, 3) the focus charting nursing record form and the focus charting nursing record manual developed for this study, and 4) a quality checklist for auditing nursing records. The study results revealed that, after the quality improvement implementation using the FOCUS-PDCA process, the quality of obstetrics and orthopedic departments’ nursing documentation was complete and met the standard criteria at 93.25% and 89.00%, subsequently. The nursing documentation of both departments reached the standard criteria which was specified at higher than 80.00%. This study showed that through the continuous quality improvement processes, FOCUS-PDCA, the quality of the obstetrics and orthopedic departments’ nursing documentation, in the operating room at Phrae Hospital, was improved effectively. The focus charting nursing record form and the manual should be applied in other departments. The quality development team, as well, should regularly evaluate the quality of nursing records in order to continuously improve the quality of the nursing documentation in the operating room.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการพัฒนาคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาล ห้องผ่าตัด โรงพยาบาลแพร่en_US
dc.title.alternativeQuality improvement of nursing documentation, Operating room, Phrae Hospitalen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.meshDocumentation-
thailis.controlvocab.meshOperating room-
thailis.controlvocab.meshPhrae Hospital-
thailis.controlvocab.thashโรงพยาบาลแพร่-
thailis.controlvocab.thashห้องผ่าตัด -- แพร่-
thailis.controlvocab.thashการบันทึกทางการพยาบาล-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาล เป็นตัวชี้วัดสำคัญประการหนึ่งที่แสดงให้เห็นว่าพยาบาบาลได้ปฏิบัติการพยาบาลตามมาตรฐานวิชาชีพ การศึกษาเชิงพัฒนานี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาล ห้องผ่าตัดโรงพยาบาลแพร่ จังหวัดแพร่ โดยใช้กระบวนการปรับปรุงคุณภาพอย่างต่อเนื่องโฟกัส-พีดีซีเอ (FOCUS-PDCA: find, organize, clarify, understand, select, plan, do, check, และ act) กลุ่มประชากรที่ศึกษาประกอบด้วย พยาบาลวิชาชีพทีมพัฒนาคุณภาพ 4 คน และพยาบาลวิชาชีพทีมปฏิบัติการบันทึก 28 คน และกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ บันทึกทางการพยาบาลผ่าตัดของผู้ป่วยในที่เข้ารับการผ่าตัดแผนกผ่าตัดสูติกรรม และแผนกผ่าตัดกระดูกและข้อ ห้องผ่าตัดโรงพยาบาลแพร่ ปี 2565 ที่ถูกเลือกภายหลังการพัฒนา ตั้งแต่วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2566 ถึงวันที่ 31 มีนาคม 2566 โดยใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบอย่างง่าย แผนกละ 40 ฉบับ เครื่องมือที่ใช้ในการการศึกษา ประกอบด้วย 1) เนวคำถามปัญหาการบันทึกทางการพยาบาลห้องผ่าตัด โรงพยาบาลแพร่ 2) แบบสอบถามรวบรวมความคิดเห็นพยาบาลต่อการใช้แบบบบบกทางการพยาบาล ห้องผ่าตัด 3)แบบบับทึกแบบนี้เฉพาะ (focus charging) และตูมือการบันทึกทางการพยาบาลห้องผ่าตัดแบบชี้เฉพาะ ที่พัฒนาขึ้นในการศึกษานี้และ 4) แบบตรวจสอบคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลห้องผ่าตัด โรงพยาบาลแพร่ ผลการศึกษาพบว่า ภายหลังการดำเนินการพัฒนาตามกระบวนการปรับปรุงคุณภาพอย่างต่อเนื่องโฟกัส-พีดีซึเอ คุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลของห้องผ่าตัดแผนกผ่าตัดสูติกรรมและของห้องผ่าตัดแผนกผ่าตัดกระดูกและข้อ มีความครบถ้วนสมบูรณ์ตามเกณฑ์มาตรฐานที่ร้อยละ 93.25 และที่ร้อยละ 89.00 ตามลำดับ ซึ่งผ่านเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนดไว้ คือมากกกว่าร้อยละ 80.00 การศึกษาครั้งนี้ แสดงให้เห็นว่ากระบวนการปรับปรุงคุณภาพอย่างต่อเนื่อง โฟกัส-พีดีซีเอ สามารถนำมาใช้ปรับปรุงคุณภาพบันทึกทางการพยาบาลแผนกสูติกรรมและแผนกกระดูกและข้อห้องผ่าตัด โรงพยาบาลแพร่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และควรนำแบบบันทึกและคู่มือการบันทึกทางการพยาบาลห้องผ่าตัดแบบขี้เฉพาะที่ปรับปรุงนี้ไปประยุกต์ใช้ในแผนกอื่น ๆ ต่อไป นอกจากนี้ ทีมพัฒนาคุณภาพควรมีการประเมินคุณภาพการบันทึกอย่างสม่ำเสมอ เพื่อปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพบันทึกทางการพยาบาลห้องผ่าตัดอย่างต่อเนื่องen_US
Appears in Collections:NURSE: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
631231063-พิชามญชุ์ อินแสน.pdf6.24 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.