Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80182
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุนทรพจน์ ดำรงค์พานิช | - |
dc.contributor.author | สุพรรษา สุรินทร์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-11-18T10:18:46Z | - |
dc.date.available | 2024-11-18T10:18:46Z | - |
dc.date.issued | 2023-08 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80182 | - |
dc.description.abstract | The objective of this research is to 1) Study the characteristics variables and effect sizes of research studies about Learning Instructional Model to develop Student's High order thinking skills 2) Compare the effect sizes based on the characteristics variables of research studies that develop Student's High-Order Thinking Skills. 3) Compare the effect sizes of Learning Instructional Model that develop of Students' High-Order Thinking Skills, after the adjustment of effect sizes using the Propensity Score Matching Method. Sample research study is derived from Master' s Theses or Independent Studies published between the years 2002 - 2021, total 344 research topics. The data collection instruments used are research study characteristic record forms and research quality assessment forms. The data was analyzed using descriptive statistics and effect size calculations for research studies, employing Glass's method for Meta-Analysis. and analyze the research study characteristics and effect sizes usingMeta Regression Analysis with Random-Effects and Fixed-Effects. The research findings indicate that. 1) The study results regarding the research study characteristics that were categorized based on basic research data revealed that Mostof theresearch was published between the years 2007 to 2011 (40.70%). Universities in the Northern, Northeastern, and Southern (37.50%). The Eastern Northeastern region (46.22%). Major of the curriculum and teaching (36.05%). Theses (98.26%). Female researchers (79.07%). The Office of Secondary Educational Service Area (SESA) (48.84%). Research variables was Analytical Thinking Skills (35.76%). In part of the content research, the study found that Learning Instructional Model of scientific process skills. (27.62%). Research objectives aimed at comparisons. (44.48%). Research utilized directional hypotheses. (65.41%). Science Department. (41.57%). Junior high school. (43.90%). The National Education Act B.E. 3 rd -4 th in the years 2011- 2021 (60.17%). The National education plan B.E 10th (2007-2011) (40.70%). The Basic Education Core Curriculum in 2008(52.04%). Duration for Learning Plans was 2 hours per plan. (36.63%). The entire learning process on 0 - 12 hours (30.81%) and 13 – 16 hours (30.81%). Learning Objectives were often defined in two aspects: Cognitive Domain and Psychomotor Domain (45.06%). Teaching was structured into four stages: Introduction, Teaching, Practice, and Conclusion (20.35%). Students engaged in Cooperative Learning Processes and Presentations (61.05%). Learning Materials were Materials and Equipment, along with Worksheets, Activity Sheet and Test (47.67%). Evaluation of Learning outcomes Primarily involved Post-test and Inspecting (47.97%). The Learning Environment in the classroom (52.33%). The researchers do not record the results of learning (52.91%). In Methodology Research, it was found that Samples (70.06%). Group random sampling (52.03%). Randomized Control Group Pretest - Posttest Design (59.30%). The quality of instruments using methods such as Validity, Reliability, Discriminant validity, and Index of difficulty (67.15%). The data collection methods were Objective Test (68.90%). Data Analysis was conducted using the t - test Independent Sample (59.59%), and the quality of the research was generally rated as good. (63.08%) For continuous variables, the study found that on average: The number of pages in the research papers was199 pages. The number of pages excluding appendices was111 pages. Research objective was 4. Hypotheses was 3. The sample size was 69 propels. The sample size used in the experimental group was 34 propels. The sample size used in the control group was 34 propels. The reliability of the instrument was 0.818. The number of items in the measurement instrument was 26 items. The number of learning management plans was 9 plans. Time spent per plan was 3 hours. Total time spent on experiments was 17 hours. The number of learning objectives was 5. The effect size values of factors influencing Students' High-Order Thinking Skills range from -0.208 to 11.575, with an average effect size of 1.629. This indicates that the Learning Instructional Model has an impact on the development of Students' High-Order Thinking Skills at a rate of 1.629 times the standard deviation. The distribution of effect size values is skewed to the right (Sk = 2.580), and it has higher kurtosis than a normal distribution (Ku = 10.265). The average research quality score is 2.592, indicating that the research quality is at a good level. 2) The results of the comparative effect sizes from research characteristics related to about Instructional Learning Model to develop of Student' s High-Order Thinking Skills, involving 31 variables. Research characteristics that have statistically significant effects at the .05 level, involving 19 variables, include:1) Research-producing universities2) Geographic regions of research-producing institutions 3) Fields of study in the research 4) Dependent variable of research 5) Learning Instructional Model 6) Research hypotheses 7) National Education Act 8) Instructors' teaching process9) Learning media10) Methods of Measuring and Evaluating Learning outcomes11) Research data sources 12) Research sample selection 13) Research designs 14) Instrument Quality Assessment 15) Number of Research Objectives 16) Number of students in the Experimental Group 17) Duration per Plan18) Total Learning Management Durationand 19) Research quality 3 ) The results of comparing Learning Instructional Model that develop to Student’s High-Order Thinking Skills before using the Propensity Score Matching Method showed that the Self-Directed Learning Approach significantly influenced the effect size of Student’s High-Order Thinking skills at a .05 significance level. After adjusting the effect sizes using the Propensity Score Matching Method, it was found that no Instructional Learning Model had a significant effect on the effect size. When considering the effect size, it was found that the Self-Directed Learning Approach (d̅= 0.429) had the highest effect size, followed by Collaborative Learning (d̅= 0.386), Activity/Technology-Mediated Learning (d̅= 0.378), Technique-Focused Thinking (d̅= 0.353), Problem-based Learning (d̅= 0.345), and Science Process-Oriented Learning. (d̅= 0.323) | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การศึกษาอิทธิพลของรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่พัฒนาทักษะการคิดขั้นสูงของนักเรียน: การวิเคราะห์อภิมานและการจับคู่คะแนนความโน้มเอียง | en_US |
dc.title.alternative | Studying the effect size of instructional learning models that develop student's high-order thinking skills: meta analysis and propensity score matching | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | การประเมินผลทางการศึกษา | - |
thailis.controlvocab.thash | ความคิดอย่างมีวิจารณญาณ | - |
thailis.controlvocab.thash | ความคิดและการคิด | - |
thailis.controlvocab.thash | การเรียนรู้แบบพินิจพิเคราะห์ | - |
thailis.controlvocab.thash | การวิเคราะห์อภิมาน | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) ศึกษาคุณลักษณะและค่าขนาดอิทธิพลของงานวิจัยเกี่ยวกับ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่พัฒนาทักษะการคิดขั้นสูง 2) เปรียบเทียบค่าขนาดอิทธิพลตามคุณลักษณะของ งานวิจัยเกี่ยวกับรูปแบบบการจัดการเรียนรู้ที่พัฒนาทักษะการคิดขั้นสูงของนักเรียน 3) เปรียบเทียบ ค่าขนาดอิทธิพลของรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่พัฒนาทักษะการคิดขั้นสูงของนักเรือน ภายหลังปรับแก้ ค่าขนาดอิทธิพลด้วยวิธีการจับคู่คะแนนความโน้มเอียง จากวิทยานิพนธ์หรือรายงานการค้นคว้าอิสระ ระดับบัณฑิตศึกมาที่พิมพ์เผยแพร่ระหว่างปี พ.ศ. 2545-2564 จำนวน 344 เรืองเครื่องมือที่ใช้ใน การเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบบันทึกคุณลักษณะงานวิจัย และแบบประเมินคุณภาพงานวิจัย วิเคราะห์ข้อมูล โดยสถิติบรรยาย (Descrinive Statistics) คำนวณค่าขนาดอิทธิพลของงานวิจัย ด้วยวิธีการของกลาส (Glas) และวิเคราะห์คุณลักษณะงานวิจัยและค่าขนาดอิทธิพลโดยใช้การวิเคราะห์ถดถอออภิมานแบบอิทธิพธิพลสุ่ม(Random Effect) และแบบอิทธิพลกำหนด (Fixed Effect) ผลการวิจัย พบว่า 1) ผลการศึกษาคุณลักษณะงานวิจัยที่เป็นตัวแปรจัดประเภทด้านข้อมูลพื้นฐาน งานวิจัย พบว่า งานวิจัยส่วนใหญ่เผยแพร่อยู่ในระหว่าง ปี พ.ศ.2550-2554 (40.70%) มหาวิทยาลัย ภาคเหนือ ตะวันออกเฉียงเหนือ และใต้ (37.50%) ภูมิภาคตะวันออกเฉียงหนือ (46.22%) สาชาหลักสูตรและ การสอน (36.05%) ประเกทวิทยานิพนธ์ (98.26%) นักวิจัยเป็นเพศหญิง (79.07%) สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา(สพม.)(48.84%)และตัวแปรตามเป็นทักษะการคิดวิเคราะห์ (35.76) ด้านเนื้อหาสาระ ของงานวิจัย พบว่า งานวิจัยส่วนใหญ่พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้ทักษะกระบวนการทารทาง วิทยาศาสตร์ (27.62%) วัตถุประสงค์งานวิจัยเพื่อเปรียบเทียบ (44.48%) สมมติฐานแบบมีทิศทาง (65.41%) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (41.57%) ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (43.9%) พัฒนารูปแบบ การจัดการรียนรู้ตามพระราชบัญญัติการศึกษา ฉบับที่ 3 3 4 ในปีศ 2554-2564 (60.17%) แผนพัฒนาการศึกษา ของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550-2554) (40.70%) หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 (52.04%) ระยะเวลาที่ใช้ต่อแผนการจัดการเรียนรู้ คือ 2 ชั่วโมงต่อแผน (3663%) ระยะเวลาที่ใช้ จัดการเรียนรู้ทั้งหมดอยู่ในช่วง 0 - 12 ชั่วโมง (30.%) และ 13 - 16 ชั่วโมง (3081%) กำหนดจุดประสงค์ การเรียนรู้ในด้านพุทธิพิสัยและทักษะพิสัย เพียง 2 ด้าน (45.06%) ผู้สอนจัดการเรียนรู้โดยมีขั้นนำ ขั้นสอบ ขั้นฝึกปฏิบัติและขั้นสรุป (20.35% ผู้เรียนเกิดกระบวนการเรียนรู้ผ่านการแบ่งกลุ่ม อภิปรายร่วมกัน และ การนำเสนอหน้าชั้นเรืยน (61.05%) สื่อการเรียนรู้เกิดจากการผสมผสานสื่อการเรียนรู้ประเภทวัสดุ- อุปกรณ์ ร่วมกับการใช้ใบงาน ใบกิจกรรม และและแบบทดสอบ (47.67%) วัดและประเมินผลการเรียนรู้ใช้การ ทดสอบหลังเรียนและตรวจใบงาน (47.97%) แหล่งเรืยนรู้อยู่ในห้องเรียน (52.33%) และผู้วิจัย ไม่มีการ บันทึกผลการจัดการเรียมรู้ (5291%) ด้านวิธีวิทยาการของงานวิจัย พบว่า งานวิจัยส่วนใหญ่ศึกษาจาก ตัวอย่าง (70.06%) โดยการสุ่มแบบบกลุ่ม (52.03%) แบบแผนการวิจัยใช้แบบ Randomized control grol group Pretest-Postiest Design (59.30%) การหาคุณภาพของงานวิจัยโดยวิธีการหาความตรง ค่าความเชื่อมั่น ค่าอำนาจจำแนก และค่าความยากง่าย (67.15%) แบบวัดเป็นแบบปรนัย (68.90%) วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ t - test Independent Sample (599999) และคุณภาพงานวิจัยอยู่ในระดับดี (63.08%) และตัวแปรต่อเนื่อง พบว่า จำนวนหน้างานวิจัยฉลี่ย จำนวน 199 หน้า จำนวนหน้าไม่รวมภาคผนวกเฉลี่ย จำนวน 111 หน้า จำนวนวัตถุประสงค์งานวิจัยเฉลี่ย จำนวน 4 ข้อ จำนวนสมมติฐานเฉลีย จำนวน 3 ข้อ ขนาดตัวอย่างเฉลี่ย จำนวน 69 คน ขนาดตัวอย่างที่ใช้ในกลุ่มทดลองเฉลี่ย จำนวน 34 คน ขนาดตัวอย่างที่ใช้ในกลุ่มควบคุมเฉลี่ยจำนวน 34 คน ค่าความเชื่อมั่นของแบบวัดเฉลี่ย 0.818 จำนวนข้อของแบบวัดเฉลี่ย จำนวน 26 ข้อ จำนวน แผนการจัดการเรียนรู้เฉลีย จำนวน 9 แผน ระชะเวลาที่ใช้ต่อแผนเฉลียอยู่ที่ 3 ชั่วโมงต่อแผน ระยะเวลากลียที่ ใช้ในการทดลองทั้งหมด จำนวน 17 ชั่วโมง จำนวนจุดประสงค์การเรือนรู้เฉลีย จำนวน 5 ข้อ ค่าขนาดอิทธิพล ของปัจจัยที่ส่งผลต่อทักษะการคิดขั้นสูงของนักเรียน มีค่าขนาดอิทธิพลระหว่าง -0.208 ถึง 11.575 โดยมี ค่าเฉลี่ยขนาดอิทธิพล เท่ากับ 1.629 หมายความว่า รูปแบบการจัดการเรียนรู้มีผล่อการพัฒนาทักษะการ คิดขั้นสูงของนักเรียนได้ 1.629 เท่าของส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ลักษณะการแจกแจงค่าขนาดอิทธิพล แบบเบี้ขวา (Sk= 2.580) และลักษณะการแจกแจงสูงกว่าโค้งปกติ (Ku= 10.265) และคุณภาพของ งานวิจัยเลี่ยเท่ากับ 2.592 แสดงว่า คุณภาพของงานวิจัยอยู่ในระดับดี 2) ผลการเปรียบเทียบค่าขนาดอิทธิพลตามคุณลักษณะงานวิจัยเกี่ยวกับรูปแบบการจัดการ เรียนรู้ที่พัฒนาทักษะการคิดขั้นสูง จำนวน 31 ตัวแปร พบว่า คุณลักษณะงานวิจัยที่ส่งผลต่อค่าขนาดอิทธิพล อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จำนวน 19 ตัวแปร ได้แก่ 1) มหาวิทยาลัยที่ผลิตงานวิจัย2) ภูมิภาคของสถาบันที่ผลิตงานวิจัย 3) สาขาที่ผลิตงานวิจัย 4) ตัวแปรตามของงานวิจัย 5) รูปแบบ การจัดการเรียนรู้ 6) สมมติฐานงานวิจัย 7) พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ 8) กระบวนการจัดการจัดการ เรียนรู้ของผู้สอน 9) สือการเรียนรู้ 10) วิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 11) แหล่งข้อมูลงานวิจัย 12) การเลือกตัวอย่างงานวิจัย 13) แบบแผนการวิจัย 14) การหาคุณภาพของเครื่องมือ 15) จำนวน วัตถุประสงค์งานวิจัย 16) ขนาดตัวอย่างในกลุ่มทดลอง 17) ระยะเวลาที่ใช้ต่อแผน 18) ระยะเวลา จัดการเรียนรู้ทั้งหมด และ 19) คุณภาพของงานวิจัย 3) ผลการเปรียบเทียบรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่พัฒนาทักษะการคิดขั้นสูง ก่อนการใช้ วิธีการจับคู่คะแนนความโน้มเอียง พบว่า รูปแบบการจัดการเรียมรู้โดยการสร้างความรู้ด้วยตนเอง ส่งผลต่อค่าขนาดอิทธิพลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิตที่ระดับ .05 ภายหลังการปรับค่าขนาดอิทธิพลด้วย วิธีการจับคู่คะแนนความโน้มเอียง พบว่า รูปแบบการจัดเรียนรู้ทุกรูปแบบบไม่ส่งผลต่อค่าขนาดอิทธิพล โดยรูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยการสร้างความรู้ด้วยตนเอง ((d̅-0.429) มีค่าขนาดอิทธิพลสูงสุด รองลงมา คือ รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ ((d̅-0.386) รูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุด กิจกรรม/สือเทคโนโลยี ((d̅=0378) รูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยเนั้นเทคนิคพัฒนาการคิด ((d̅= 0.353) รูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ((d̅=0.345) และรูปแบบการจัดการเรียนรู้โดย กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ((d̅= 0.323) ตามลำดับ | en_US |
Appears in Collections: | EDU: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
640232007.pdf | 13.41 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.