Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80180
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Komsan Suriya | - |
dc.contributor.advisor | Tatcha Sudtasan | - |
dc.contributor.author | Meng, Xing | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-11-18T00:52:55Z | - |
dc.date.available | 2024-11-18T00:52:55Z | - |
dc.date.issued | 2024-09 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80180 | - |
dc.description.abstract | This study finds evidence to support whether either comparative advantage or new trade theory explains the bilateral trade in agricultural products between China and Thailand. It investigates whether the value of exports from Thailand to China, the value of exports from China to Thailand, and the balance of trade in agricultural products of Thailand over China are driven by either Revealed Comparative Advantage (RCA) index for the proxy of comparative advantage or Grubel-Lloyd (GL) index as a proxy of product differentiation according to the new trade theory. The results show that only the comparative advantage explains the variation of value of exports of both countries. It also dominates the new trade theory in the explanation of trade surplus of Thailand over China. However, the trade surplus of China over Thailand is occasional and is not determined by neither the comparative advantage nor new trade theory. The dominance of comparative advantage over new trade theory signifies that both countries enjoy natural resource-based agricultural production over their uniqueness of locations and landscapes. Both countries are not driven by science and technology much enough in order to lead them to innovation-based agricultural production. Therefore, policies that preserve the uniqueness of locations and land use is crucial for maintaining the comparative advantage, as well as the enhancement of science and technology to transform the production to more innovation-based that should move both countries to more intra-industry trade would make their agricultural exports more sustainable in the long-run. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.title | Bilateral trade in agriculture between China and Thailand under comparative advantage versus new trade theory | en_US |
dc.title.alternative | การค้าทวิภาคีด้านการเกษตรระหว่างจีนกับไทยภายใต้ ความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบกับทฤษฎีการค้าใหม่ | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.lcsh | China -- Commerce -- Thailand | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Thailand -- Commerce -- China | - |
thailis.controlvocab.lcsh | China -- Exports | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Thailand -- Exports | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Produce trade | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษานี้ต้องการหาหลักฐานที่จะสนับสนุนว่าการค้าทวิภาคีด้านการเกษตรระหว่างจีนกับไทยเกิดจากความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบหรือทฤษฎีการค้าใหม่โดยได้ศึกษาว่ามูลค่าการส่งออกจากไทยไปจีน มูลค่าการส่งออกจากจีนมายังไทย และดุลการค้าของไทยที่มีต่อจีนเกิดขึ้นจากดัชนีความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบที่ปรากฏชัดซึ่งเป็นตัวแทนของการวัดความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบหรือว่าเกิดจากดัชนีกรูเบิล-ลีลอยด์ ซึ่งเป็นตัวแทนของการวัดความแตกต่างของผลิตภัณฑ์ตามหลักของทฤษฎีการค้าใหม่ ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าเฉพาะความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบเท่านั้นที่สามารถอธิบายการเปลี่ยนแปลงของมูลค่าการส่งออกของทั้งสองประเทศ และยังมีผลที่เหนือกว่าทฤษฎีการค้าใหม่ในการอธิบายดุลการค้าของไทยที่มีต่อจีนด้วย แต่อย่างไรก็ตาม ดุลการค้าของจีนที่มีต่อไทยเป็นเรื่องที่เกิดขึ้นชั่วครั้งชั่วคราวและไม่สามารถระบุได้ด้วยทั้งความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบและทฤษฎีการค้าใหม่ ความเหนือกว่าของความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบที่มีต่อทฤษฎีการค้าใหม่ทำให้เห็นว่า ทั้งสองประเทศต่างตั้งอยู่บนการผลิตทางการเกษตรที่ใช้ฐานทรัพยากรธรรมชาติเป็นหลัก โดยที่ยังไม่ได้ขับเคลื่อนด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมากพอที่จะทำให้เป็นการผลิตทางการเกษตรบนฐานนวัตกรรม ดังนั้น นโยบายต่าง ๆ ที่ช่วยรักษาความเป็นเอกลักษณ์ด้านพื้นที่และการใช้ที่ดินมีความจำเป็นยิ่งยวดในการรักษาความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบ พร้อมกันนั้นการส่งเสริมให้ใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อเปลี่ยนให้การผลิตอยู่บนฐานนวัตกรรมมากขึ้นจะช่วยเปลี่ยนให้ทั้งสองประเทศมีการค้าภายในอุตสาหกรรมเดียวกันมากขึ้นและจะส่งผลให้การส่งออกสินค้าเกษตรของทั้งสองประเทศมีความยั่งยืนขึ้นในระยะยาว | en_US |
Appears in Collections: | ECON: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
631635830-XING MENG.pdf | 2.25 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.