Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80176
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorยุทธนา ทองท้วม-
dc.contributor.authorกมลทิพย์ ธรรมสอนen_US
dc.date.accessioned2024-11-17T07:23:10Z-
dc.date.available2024-11-17T07:23:10Z-
dc.date.issued2024-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80176-
dc.description.abstractThis research aims to create knowledge for ventilation within enclosed building spaces. This leads to guidelines for designing and applying building openings in relation to air currents and airflow behavior. using a case study of a patient dormitory building in Doi Saket Hospital. The study found that the size and form of building openings can control the wind speed, leading to effective ventilation within the building. Including reducing carbon dioxide concentration. The size and position of the opening are important, serving as both the air entrance and the air outlet. Therefore, creating more than one opening in the same plane can help improve ventilation within the building to meet standards ASHRAE 52.2 and the carbon dioxide concentration level does not exceed the standard 1,000 ppm. according to ASHRAE 62.1 standard. In addition, the location of the opening pattern with more than one level can increase the opportunity for airflow to be distributed throughout the floor, middle, and above levels. The head brings up alternative approaches to constructing and operating building opening systems in relation to airflow behavior, for example.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการศึกษาแนวทางการปรับปรุงช่องเปิดหอพักผู้ป่วยรวมเพื่อลดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์โดยใช้การไหลเวียนอากาศกรณีศึกษาโรงพยาบาลดอยสะเก็ดen_US
dc.title.alternativeThe Study of improving a void design for patient wards in order to reduce carbon dioxide by using air circulation case study of Doi Saket Hospitalen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashโรงพยาบาลดอยสะเก็ด-
thailis.controlvocab.thashหอผู้ป่วย-
thailis.controlvocab.thashการลดปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์-
thailis.controlvocab.thashการระบายอากาศ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างองค์ความรู้สำหรับการระบายอากาศภายในพื้นที่อาคารผนังปิดล้อม นำไปสู่แนวทางการออกแบบและประยุกต์ใช้งานช่องเปิดอาคารให้สัมพันธ์กับกระแสลมรวมทั้งพฤติกรรมการไหลของอากาศ ซึ่งจะจำลองสภาพปัญหา โดยใช้อาคารหอพักผู้ป่วยรวมโรงพยาบาลดอยสะเก็ดเป็นกรณีศึกษา ซึ่งการศึกษาผู้วิจัยได้ทำการลงพื้นที่สำรวจทางกายภาพของอาคารรวมทั้งข้อมูลภาคเอกสารความเร็วลมจากกรมอุตุนิยมวิทยาสถานีเชียงใหม่ ซึ่งประกอบด้วย (1) ความเร็วลมเฉลี่ยรายเดือน (2) ทิศทางลมเฉลี่ยรายเดือนเพื่อทำการจำลองพฤติกรรมการไหลเวียนอากาศและการระบายอากาศโดยได้ทำการทดลองออกแบบระบบช่องเปิดอาคารในหลากหลายมิติและให้ความสำคัญกับรูปทรงปริมาตรของช่องเปิด ปิดอาคาร ซึ่งผลการศึกษาพบว่าขนาดและรูปแบบช่องเปิดอาคารสามารถควบคุมอัตราความเร็วลมได้นำมาสู่การระบายอากาศภายในอาคารให้ได้ประสิทธิภาพ รวมทั้งช่วยลดความเข้มข้นก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ โดยขนาดและตำแหน่งช่องเปิดมีความสำคัญทำหน้าที่เป็นทั้งทางเข้าลมและทางออกลม ดังนั้นการสร้างสัดส่วนช่องเปิดมากว่าหนึ่งช่องในระนาบเดียวกันสามารถช่วยให้การระบายอากาศภายในอาคารดีขึ้นอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน ASHRAE 52.2และระดับความเข้มข้นก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ไม่เกินมาตรฐาน 1,000 ppm. ตามมาตรฐาน ASHRAE 62.1 นอกจากนี้ตำแหน่งรูปแบบช่องเปิดที่มีมากกว่าหนึ่งระดับสามารถเพิ่มโอกาสการไหลเวียนของกระแสลมให้ทั่วถึงทั้งในระดับพื้นห้อง ระดับกลางห้องรวมทั้งใน ระดับเหนือศีรษะนำมาสู่แนวทางเลือกในการสร้างและใช้งานระบบช่องเปิดอาคารให้สัมพันธ์กับพฤติกรรมการไหลของอากาศเป็นต้นen_US
Appears in Collections:ARC: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
631731001.pdf6.49 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.