Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80173
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorOrawan Wiranwetchayan-
dc.contributor.advisorSomchai Thongtem-
dc.contributor.advisorWonchai Promnopas-
dc.contributor.authorSurin Promnopasen_US
dc.date.accessioned2024-11-17T05:34:51Z-
dc.date.available2024-11-17T05:34:51Z-
dc.date.issued2022-09-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80173-
dc.description.abstractThis research reports the successful synthesis pure silver phosphate in traditional solution containing different content of pH, time, and calcine temperature. By initially different solution, pure silver phosphate was adjusted pH from 4.0-12.0 and silver phosphate/lanthanum phosphate composite was adjusted calcine temperature at 0-300 degreecelsius. Subsequently, the solutions were processed by 270-W microwave hydrothermal method at 30-60 min. The as-synthesized produced were characterize studied the crystallinity, structure, morphologies, surface area, optical properties by X ray diffraction, electron microscopy and spectroscopy, and photocatalytic properties by degradation of RhB, MO and MB. In this research was divided into 3 parts, (1) studied the effect of lengths of time in synthesized pure silver phosphate (2) studied the effect of pH value in initial solution by synthesized pure silver phosphate (3) studied the effect of calcine temperature on shape, crystallinity, and optical properties. In these results (1-3), particles were growth with an increase in synthesis time but did not affect to the ability degradation of dyes. Nevertheless, particle size and crystallinity were decrease as followed by increasing in the pH value and XPS analysis were detected silver pyrophosphate (Ag4P2O7) at surface area which has effect to the energy band gap and photocatalytic performance. In addition, the pure silver phosphate was successfully synthesized from different pH value in useful the photocatalytic performance and showed highest photodegradation efficiency at pH 10. As calcine temperature increases were resulting in high energy band gap, while agglomerate particles on surface area and crystallinity were decrease which make it an ability of composite photocatalysts.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleSynthesis of Silver Phosphate / Lanthanum Phosphate Composites for photocatalytic applicationsen_US
dc.title.alternativeการสังเคราะห์วัสดุผสมซิลเวอร์ฟอสเฟต/แลนทานัมฟอสเฟต สำหรับประยุกต์ใช้ในการเร่งปฏิกิริยาเชิงแสงen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshPhosphates-
thailis.controlvocab.lcshLanthanum-
thailis.controlvocab.lcshSilver-
thailis.controlvocab.lcshMaterials science-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยนี้ได้ศึกษาผลของค่าพี่เอช (pH) ของสารละลายตั้งต้น ระยะเวลาในการสังเคราะห์ และ อุณหภูมิของการเผาต่อการสังเคราะห์อนุภาคซิลเวอร์ฟอสเฟต (Ag3PO4) โดยมีการปรับค่าพี่เอช ตั้งแต่ 4.0-12.0 และอนุภาควัสดุผสมซิลเวอร์ฟอสเฟด แลนทานัมฟอสเฟต (Ag3PO4/LaPO4) ที่มีการปรับ อุณหภูมิในการเผาตั้งแต่ 0-300 องศาเซลเซียส โดยเบื้องต้นสารตั้งต้นทั้งหมดถูกสังเคราะห์ด้วยวิธี ไมโครเวฟไสโครเทอร์มอลกำลัง 270 วัตต์ เป็นระขะเวลาตั้งแต่ 30-60 นาที ซึ่งสารผลิตภัณฑ์ที่ สังเคราะห์ได้จะถูกนำมาวิเคราะห์โครงสร้างผลึก, ลักษณะทางสัณฐานวิทยา พื้นที่ผิวและคุณสมบัติ ทางแสง ด้วยเทคนิคต่างๆ จากนั้นจึงนำไปศึกษาสมบัติการเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาเชิงแสง โดยการย่อย สลายเชิงแสงของสีย้อมโรดามินบี (rhodamine B, RhB) เมทิลออเรนจ์ (methyl orange, MO) MO) และเมทีลีนบลู (methylene blue, MB) แบ่งการศึกษาออกเป็น 3 ส่วนดังนี้(1) การศึกษาผลของระยะเวลาใน การสังเคราะห์ซิลเวอร์ฟอสเฟต พบว่า อนุภาคมีขนาดใหญ่ขึ้นตามระชะเวลาในการสังเคราะห์ที่ เพิ่มขึ้น แต่ความสามารถในการข่อยสลายสีย้อมไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ (2) การศึกษา ผลของการปรับค่าพี่เอชในสารละลายตั้งต้นต่อการสังเคราะห์ซิลเวอร์ฟอสเฟต พบว่า เมื่อค่าพี่เอช เพิ่มขึ้นขนาดของอนุภาคและความเป็นผลึกลดลง และพบซิลเวอร์ไพโรฟอสเฟต (Ag4P2O7) ที่ผิวของ อนุภาคทำให้ค่าช่องว่างแถบพลังงานมีการเปลี่ยนแปลงส่งผลต่อการย่อยสลายเชิงแสงของสาร ผลิตภัณฑ์ที่สังเคราะห์ได้ โดยประสิทธิภาพการย่อยสลายเชิงแสงที่ดีที่สุดถูกตรวจพบในซิลเวอร์ ฟอสเฟต ที่สังเคราะห์จากสารละลายตั้งต้นที่มีค่าพี่เอช เท่ากับ 10 (3) การศึกษาผลของอุณหภูมิในการ เผา พบว่าอุณหภูมิมีผลต่อรูปร่าง การรวมตัวกันของอนุภาค ความเป็นผลึก และสมบัติทางแสงของสารผลิตภัณฑ์ที่สังเคราะห์ได้ และตรวจพบว่าเกิดวัสดุผสมของ ซิลเวอร์ฟอสเฟต และแลนทานัม ฟอสเฟต ทำให้ค่าช่องว่างแถบพลังงานงานมีการเปลี่ยนแปลง เมื่ออุณหภูมิของการเผาสูงขึ้นทำให้เกิด การรวมตัวกันของอนุภาคส่งผลให้พื้นที่ผิวมีค่าลดลง ค่าช่องว่างแถบพลังงานงานสูง และความเป็น ผลึกที่ลดลงทำให้มีความสามารถในการย่อยสีย้อมมีประสิทธิภาพลดลงด้วยen_US
Appears in Collections:SCIENCE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
590551083 สุรินทร์ พรมโนภาศ.pdf5.56 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.